เทคโนโลยีวัสดุ
ว่าด้วยการผสมวัสดุตัวใหม่ๆ และนวตกรรมใหม่ ที่คิดค้นเรื่องวัสดุใหม่ขึ้นมาเพื่อลดต้นทุน วัสดุเก่า หรือว่า เรื่องลดทรัพยากรสิ่งแวดล้อม
วันจันทร์ที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
เทคโนโลยีการศึกษา
เทคโนโลยีการศึกษา (อังกฤษ: Educational Technology)
เป็นศาสตร์ที่ประยุกต์เอาวิชาการต่างๆ มาจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ได้อย่างมีประสิทธิผล ซึ่งเกิดจากการออกแบบการสอนตามหลักการออกแบบการเรียนการสอน (Instructional Design) โดยคำนึงถึงคุณลักษณะของผู้เรียน ความเหมาะสมของสื่อที่สอดคล้องกับลักษณะเนื้อหาและความสนใจของผู้เรียน
เทคโนโลยีการศึกษา เป็นคำที่มาจากคำสองคำ คือ เทคโนโลยี ที่มีความหมายว่า เป็นศาสตร์แห่งวิธีการ ซึ่งมิได้มีความหมายว่าเป็นศาสตร์แห่งเครื่องมือเพียงอย่างเดียว แต่รวมถึง วัสดุและวิธีการด้วย เมื่อมาเชื่อมกับคำว่า การศึกษา เกิดเป็นคำใหม่ที่มีความหมายว่า การประยุกต์เครื่องมือ วัสดุและวิธีการไปส่งเสริมประสิทธิภาพการเรียนรู้ ตลอดจนการจัดสภาพแวดล้อมใหม่เพื่อการเรียนรู้ [1]
เทคโนโลยีการศึกษา
เทคโนโลยีการศึกษา เน้นเรื่อง วิธีการ ระบบ และเครื่องมือ เพื่อนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน เทคโนโลยีการศึกษากับนวัตกรรมการศึกษาดูจะใกล้เคียงกันมาก เนื่องจากนวัตกรรมการศึกษา เป็นการนำเอาสิ่งใหม่ ๆ มาใช้ในการศึกษา ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่เป็นผลผลิตจากการพัฒนาของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จึงมีผู้เปรียบเทียบว่า ถ้านวัตกรรมการศึกษาเป็นหน่อไม้ เทคโนโลยีการศึกษาเปรียบเหมือนกอไผ่ ซึ่งรวมทั้งลำไผ่เดี่ยวๆ และกอไผ่ การเรียนการสอนเกี่ยวกับเทคโนโลยีการศึกษา ได้มีการเปิดสอนใน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยทักษิณ เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีหน่วยงานที่ทำหน้าที่เทคโนโลยีการศึกษา ที่ใช้ชื่อ เทคโนโลยีทางการศึกษา ซึ่งไม่ว่าชื่อจะแตกต่างอย่างไร เนื้อหาของวิชาการเทคโนโลยีการศึกษาก็เป็นเนื้อหาเดียวกัน ปัจจุบันได้มีสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่เปิดสอนสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาเทคโนโลยีสิ่งทอและเสื้อผ้า
เทคโนโลยีสิ่งทอและเสื้อผ้า |
สิ่งทอส่วนใหญ่ที่อยู่ในรูปของเสื้อผ้า
เรามักจะคุ้นเคยกันดีอยู่แล้ว แต่ยังมีอีกหลายๆแง่มุมของสิ่งทอ
รวมไปถึงวิทยาการและเทคโนโลยี
ทางด้านสิ่งทอที่อาจจะถูกมองข้ามไปหรือถูกจำกัดให้อยู่ในวงแคบเฉพาะในกลุ่มของนักวิชาการ
หากผู้ใช้มีความสนใจและเข้าใจ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งทอ เช่น ชนิดของเส้นใย
สมบัติของเส้นใย การขึ้นรูปเป็นเส้นด้าย การขึ้นรูปเป็นผืนผ้า
ก็จะทำให้ผู้ใช้สามารถเลือกวัสดุสิ่งทอที่มีในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสมกับความต้องการและการนำไปใช้
รวมไปถึงการดูแลรักษาด้วย
เว็บนี้เป็นส่วนหนึ่งความพยายามของ หน่วยปฏิบัติงานวิจัยและพัฒนาสิ่งทอ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ ในการเผยแพร่ความรู้ และเทคโนโลยีสิ่งทอ ทั้งในส่วนความรู้พื้นฐานและส่วนที่เป็นวิทยาการใหม่ๆ ที่น่าสนใจ และเพื่อเป็นการเปิดมุมมองของสาธารณชนต่อสิ่งทอให้กว้างขึ้น |
เทคโนโลยีการเกษตร
เทคโนโลยีการเกษตร
คือ ความรู้ วิทยาการ เทคนิค วิธีการ เครื่องจักรกลการเกษตรที่เกษตรกรนำมาใช้ปรับปรุงหรือเพิ่มผลผลิตในการเกษตร
เทคโนโลยีอาหาร
เทคโนโลยีอาหาร
เทคโนโลยีอาหาร (อังกฤษ: Food Technology) เป็นสาขาวิชาที่ประยุกต์มาจากวิทยาศาสตร์การอาหาร มีเนื้อหาเกี่ยวกับการถนอมอาหาร การแปรรูปอาหาร บรรจุภัณฑ์ การจัดจำหน่ายอาหาร และหลักโภชนาการของอาหาร
นักวิทยาศาสตร์การอาหารและนักเทคโนโลยีอาหารเป็นจะศึกษาลักษณะทางกายภาพ ทางจุลชีววิทยา และทางเคมีของอาหาร
ในบางสถานศึกษา เทคโนโลยีอาหารจะถูกบรรจุอยู่ในหลักสูตรการเรียนการสอนร่วมกับวิชาการปรุงอาหาร โภชนาการ และกระบวนการผลิตอาหาร
นักวิทยาศาสตร์การอาหารและนักเทคโนโลยีอาหารเป็นจะศึกษาลักษณะทางกายภาพ ทางจุลชีววิทยา และทางเคมีของอาหาร
ในบางสถานศึกษา เทคโนโลยีอาหารจะถูกบรรจุอยู่ในหลักสูตรการเรียนการสอนร่วมกับวิชาการปรุงอาหาร โภชนาการ และกระบวนการผลิตอาหาร
ประวัติศาสตร์ยุคแรกเริ่มของเทคโนโลยีอาหาร
หลุยส์ พาสเตอร์ ได้ศึกษาวิจัยการเน่าเสียของไวน์ และได้ค้นพบวิธีป้องกันการเน่าเสียในปี 1864 (พ.ศ. 2407) ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นของเทคโนโลยีอาหารที่มีพื้นฐานมาจากวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศ
|
บท
- การ
เก็บ รวบ รวม ข้อ มูล เป็น วิธี การ รวบ รวม ข้อ มูล เข้า สู่ ระบบ นักเรียน อาจ เห็น พนักงาน การ ไฟฟ้า ไป ที่ บ้าน พร้อม เครื่อง คอมพิวเตอร์ ขนาด เล็ก เพื่อ บันทึก ข้อ มูล การ ใช้ ไฟฟ้า ใน การ สอบ แข่ง ขัน ที่ มี ผู้ สอบ จำนวน มาก ก็ มี การ ใช้ ดินสอ ระบาย ตาม ช่อง ที่ เลือก ตอบ เพื่อ ให้ เครื่อง อ่าน เก็บ รวบ รวม ข้อ มูล ได้ เมื่อ ไป ซื้อ สินค้า ที่ ห้าง สรรพสินค้า ก็ มี การ ใช้ รหัส แท่ง (bar code) พนักงาน จะ นำ สินค้า ผ่าน การ ตรวจ ของ เครื่อง เพื่อ อ่าน ข้อ มูล การ ซื้อ สินค้า ที่ บรรจุ ใน รหัส แท่ง เมื่อ ไป ที่ ห้อง สมุด ก็ พบ ว่า หนังสือ มี รหัส แท่ง เช่น เดียว กัน การ ใช้ รหัส แท่ง นี้ เพื่อ ให้ ง่าย ต่อ การ เก็บ รวบ รวม wbr >wb - การ
ประมวล ผล ข้อ มูล ที่ เก็บ มา ได้ มัก จะ เก็บ ใน สื่อ ต่าง ๆ เช่น แผ่น บันทึก แผ่น ซี ดี หรือ เทป เป็น ต้น ข้อ มูล เหล่า นี้ จะ ถูก นำ มา ประมวล ผล ตาม ต้อง การ เช่น แยก แยะ ข้อ มูล เป็น กลุ่ม เรียง ลำดับ ข้อ มูล คำนวณ หรือ จัด การ คัด แยก ข้อ มุ ล ที่ จัด เก็บ นั้น
รูป แสดง การ ประมวล ผล ให้ ออก มา ใน รูป เอกสาร
- การ
แสดง ผลลัพธ์ อุปกรณ์ ที่ ใช้ เทคโนโลยี ใน การ แสดง ผลลัพธ์ มี มาก สามารถ แสดง เป็น ตัว หนังสือ เป็น รูป ภาพ ตลอด จน พิมพ์ ออก มา ที่ กระดาษ การ แสดง ผลลัพธ์ มี ทั้ง ที่ แสดง เป็น ภาพ เป็น เสียง เป็น วีดิทัศน์ เป็น ต้น
รูป แสดง การ แสดง ผล ลัพท์ ทาง หน้า จอ คอมพิวเตอร์
- การ
ทำ สำเนา เมื่อ มี ข้อ มูล ที่ จัด เก็บ ใน สื่อ อิเล็กทรอนิกส์ ต่าง ๆ การ ทำ สำเนา จะ ทำ ได้ ง่าย และ ทำ ได้ เป็น จำนวน มาก ดัง นั้น อุปกรณ์ ช่วย ใน การ ทำ สำเนา จัด ได้ ว่า เป็น เทคโนโลยี สารสนเทศ ที่ มี การ พัฒนา มา อย่าง ต่อ เนื่อง เรา มี เครื่อง พิมพ์ เครื่อง ถ่าย เอกสาร อุปกรณ์ การ เก็บ ข้อ มูล ทาง อิเล็กทรอนิกส์ เช่น จาน บันทึก ซีดีรอม ซึ่ง สามารถ ทำ สำเนา ได้ เป็น จำนวน มาก - การ
สื่อสาร โทรคมนาคม เป็น วิธี การ ที่ จะ ส่ง จาก ที่ หนึ่ง ไป ยัง อีก ที่ หนึ่ง หรือ กระจาย ออก ไป ยัง ปลาย ทาง ครั้ง ละ มาก ๆ ปัจจุบัน มี อุปกรณ์ ระบบ สื่อสาร โทรคมนาคม หลาย ประเภท ตั้งแต่ โทรเลข โทรศัพท์ เส้น ใย นำ แสง เคเบิล ใต้ น้ำ คลื่น วิทยุ ไมโครเวฟ ดาว เทียม เป็น ต้น
- เทคโนโลยี
สารสนเทศ ช่วย เพิ่ม ผล ผลิต ลด ต้น ทุน และ เพิ่ม ประสิทธิภาพ ใน การ ทำงาน ใน การ ประกอบ การ ทาง ด้าน เศรษฐกิจ การ ค้า และ การ อุตสาหกรรม จำเป็น ต้อง หา วิธี ใน การ เพิ่ม ผล ผลิต ลด ต้น ทุน และ เพิ่ม ประสิทธิภาพ ใน การ ทำงาน คอมพิวเตอร์ และ ระบบ สื่อสาร เข้า มา ช่วย ทำ ให้ เกิด ระบบ อัตโนมัติ เรา สามารถ ฝาก ถอน เงิน สด ผ่าน เครื่อง เอ ที เอ็ม ได้ ตลอด เวลา ธนาคาร สามารถ ให้ บริการ ได้ ดี ขึ้น ทำ ให้ การ บริการ โดย รวม มี ประสิทธิภาพ ใน ระบบ การ จัด การ ทุกแห่ง ต้อง ใช้ ข้อ มูล เพื่อ การ ดำเนิน การ และ การ ตัดสิน ใจ ระบบ ธุรกิจ จึง ใช้ เครื่อง มือ เหล่า นี้ ช่วย ใน การ ทำงาน เช่น ใช้ ใน ระบบ จัด เก็บ เงิน สด จอง ตั๋ว เครื่อง บิน เป็น ต้น - เทคโนโลยี
สารสนเทศ เปลี่ยน รูป แบบ การ บริการ เป็น แบบ กระจาย เมื่อ มี การ พัฒนา ระบบ ข้อ มูล และ การ ใช้ ข้อ มูล ได้ ดี การ บริการ ต่าง ๆ จึง เน้น รูป แบบ การ บริการ แบบ กระจาย ผู้ ใช้ สามารถ สั่ง ซื้อ สินค้า จาก ที่ บ้าน สามารถ สอบ ถาม ข้อ มุ ล ผ่าน ทาง โทรศัพท์ นิสิต นักศึกษา บาง มหาวิทยาลัย สามารถ ใช้ คอมพิวเตอร์ สอบ ถาม ผล สอบ จาก ที่ บ้าน ได้ - เทคโนโลยี
สารสนเทศ เป็น สิ่ง ที่ จำเป็น สำหรับ การ ดำเนิน การ ใน หน่วย งาน ต่าง ๆ ปัจจุบัน ทุก หน่วย งาน ต่าง พัฒนา ระบบ รวบ รวม จัด เก็บ ข้อ มูล เพื่อ ใข้ ใน องค์การ ประเทศ ไทย มี ระบบ ทะเบียน ราษฎร์ ที่ จัด ทำ ด้วย ระบบ ระบบ เวช ระเบียน ใน โรง พยาบาล ระบบ การ จัด เก็บ ข้อ มูล ภาษี ใน องค์การ ทุก ระดับ เห็น ความ สำคัญ ที่ จะ นำ เทคโนโลยี สารสนเทศ มา ใช้ - เทคโนโลยี
สารสนเทศ เกี่ยว ข้อง กับ คน ทุก ระดับ พัฒนา การ ด้าน เทคโนโลยี สารสนเทศ ทำ ให้ ชีวิต ความ เป็น อยู่ ของ คน เกี่ยว ข้อง กับ เทคโนโลยี ดัง จะ เห็น ได้ จาก การ พิมพ์ ด้วย คอมพิวเตอร์ การ ใช้ ตาราง คำนวณ และ ใช้ อุปกรณ์ สื่อสาร โทรคมนาคม แบบ ต่าง ๆ เป็น ต้น
- การ
สร้าง เสริม คุณภาพ ชีวิต ที่ ดี ขึ้น สภาพ ความ เป็น อยู่ ของ สังคม เมือง มี การ พัฒนา ใช้ ระบบ สื่อสาร โทรคมนาคม เพื่อ ติดต่อ สื่อสาร ให้ สะดวก ขึ้น มี การ ประยุกต์ มา ใช้ กับ เครื่อง อำนวย ความ สะดวก ภาย ใน บ้าน เช่น ใช้ ควบ คุม เครื่อง ปรับ อากาศ ใช้ ควม คุม ระบบ ไฟฟ้า ภาย ใน บ้าน เป็น ต้น - เสริม
สร้าง ความ เท่า เทียม ใน สังคม และ การ กระจาย โอกาส เทคโนโลยี สารสนเทศ ทำ ให้ เกิด การ กระจาย ไป ทั่ว ทุกหน แห่ง แม้ แต่ ถิ่น ทุรกันดาร ทำ ให้ มี การ กระจาย โอ การ การ เรียน รู้ มี การ ใช้ ระบบ การ เรียน การ สอน ทาง ไกล การ กระจาย การ เรียน รู้ ไป ยัง ถิ่น ห่าง ไกล นอกจาก นี้ ใน ปัจจุบัน มี ความ พยายาม ที่ ใช้ ระบบ การ รักษา พยาบาล ผ่าน เครือ ข่าย สื่อสาร - สารสนเทศ
กับ การ เรียน การ สอน ใน โรง เรียน การ เรียน การ สอน ใน โรง เรียน มี การ นำ คอมพิวเตอร์ และ เครื่อง มือ ประกอบ ช่วย ใน การ เรียน รู้ เช่น วีดิทัศน์ เครื่อง ฉาย ภาพ คอมพิวเตอร์ ช่วย สอน คอมพิวเตอร์ ช่วย จัด การ ศึกษา จัด ตาราง สอน คำนวณ ระดับ คะแนน จัด ชั้น เรียน ทำ รายงาน เพื่อ ให้ ผู้ บริหาร ได้ ทราบ ถึง ปัญหา และ การ แก้ ปัญหา ใน โรง เรียน ปัจจุบัน มี การ เรียน การ สอน ทาง ด้าน เทคโนโลยี สารสนเทศ ใน โรง เรียน มาก ขึ้น - เทคโนโลยี
สารสนเทศ กับ สิ่ง แวด ล้อม การ จัด การ ทรัพยากร ธรรมชาติ หลาย อย่าง จำเป็น ต้อง ใช้ สารสนเทศ เช่น การ ดูแล รักษา ป่า จำเป็น ต้อง ใช้ ข้อ มูล มี การ ใช้ ภาพ ถ่าย ดาว เทียม การ ติด ตาม ข้อ มูล สภาพ อากาศ การ พยากรณ์ อากาศ การ จำลอง รูป แบบ สภาวะ สิ่ง แวด ล้อม เพื่อ ปรับปรุง แก้ ไข การ เก็บ รวม รวม ข้อ มูล คุณภาพ น้ำ ใน แม่น้ำ ต่าง ๆ การ ตรวจ วัด มลภาวะ ตลอด จน การ ใช้ ระบบ การ ตรวจ วัด ระยะ ไกล มา ช่วย ที่ เรียก ว่า โทร มาตร เป็น ต้น - เทคโนโลยี
สารสนเทศ กับ การ ป้องกัน ประเทศ กิจการ ทาง ด้าน การ ทหาร มี การ ใช้ เทคโนโลยี อาวุธ ยุทโธปกรณ์ สมัย ใหม่ ล้วน แต่ เกี่ยว ข้อง กับ คอมพิวเตอร์ และ ระบบ ควบ คุม มี การ ใช้ ระบบ ป้องกัน ภัย ระบบ เฝ้า ระวัง ที่ มี คอมพิวเตอร์ ควบ คุม การ ทำงาน - การ
ผลิต ใน อุตสาหกรรม และ การ พาณิช ย กรรม การ แข่ง ขัน ทาง ด้าน การ ผลิต สินค้า อุตสาหกรรม จำเป็น ต้อง หา วิธี การ ใน การ ผลิต ให้ ได้ มาก ราคา ถูก ลง เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ เข้า มา มี บท บาท มาก มี การ ใช้ ข้อ มูล ข่าว สาร เพื่อ การ บริหาร และ การ จัด การ การ ดำเนิน การ และ ยัง รวม ไป ถึง การ ให้ บริการ กับ ลูกค้า เพื่อ ให้ ซื้อ สินค้า ได้ สะดวก ขึ้น
รวบ
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เป็นความรู้ หรือ วิชาการที่สามารถนำสิ่งมีชีวิต หรือ ผลผลิตจากสิ่งมีชีวิตมาใช้ หรือ มาปรับเปลี่ยน และประยุกต์ เพื่อใช้ประโยชน์ เรารู้จักการใช้เทคโนโลยีชีวภาพมานานแล้ว การทำน้ำปลา ซีอิ๊ว การหมักอาหาร หมักเหล้า ล้วนเป็นเทคโนโลยีชีวภาพแบบดั้งเดิม เช่นเดียวกับ การปรับปรุงพันธุ์พืช สัตว์ ให้มีผลผลิตมากขึ้น มีคุณภาพดีขึ้น หรือ การนำสมุนไพรมาใช้รักษาโรค บำรุงสุขภาพ ก็จัดว่าเป็นเทคโนโลยีชีวภาพแบบดั้งเดิม
อย่างไรก็ตามในปัจจุบันเมื่อกล่าวถึงเทคโนโลยีชีวภาพ เรามักหมายถึง เทคโนโลยีสมัยใหม่ ที่มีวิทยาศาสตร์หลายสาขาวิชาผสมผสานกันอยู่ ทั้งชีววิทยา เคมี ชีวเคมี ไปจนถึง ฟิสิกส์ และวิศวกรรม ซึ่งอาจเรียกได้ว่า เป็น “สหวิทยาการ” ที่นำความรู้พื้นฐานด้านต่างๆ เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต ไปใช้ให้เกิดประโยชน์
จากบทความทางวิชาการประกอบการอภิปราย เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพสำหรับฟาร์มเพาะและเลี้ยงกุ้งกุลาดำ โดย รศ. น.สพ. เกรียงศักดิ์ พูนสุข คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในงานวันกุ้งกุลาดำ ครั้งที่ 11 ที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้กล่าวไว้ว่า เทคโนโลยีชีวภาพ หมายถึง การนำหลักการ หรือวิทยาการทางวิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้มีคุณประโยชน์มากที่สุด จากการแปลความหมายของคำว่า BIO หมายถึง สิ่งมีชีวิต TECHNOLOGY หมายความถึง วิทยาการ หรือวิธีการ อาจสรุปง่ายๆว่า เทคโนโลยีชีวภาพ หมายถึง วิทยาการทางวิทยาศาสตร์ ในการนำเอาสิ่งมีชีวิตมาใช้
ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่ถูกจัดอยู่ในกลุ่มของเทคโนโลยีชีวภาพมีมากมาย ได้แก่
1. พันธุวิศวกรรม : เป็นกระบวนการ ที่เจาะจงเลือกหน่วยพันธุกรรม (Gene) บางตัวของสิ่งมีชีวิตชนิดใดชนิดหนึ่ง (ไม่ว่าจะเป็นพืช สัตว์ หรือ จุลินทรีย์) และนำไปใส่ในสิ่งมีชีวิตอีกประเภทหนึ่ง เพื่อทำให้เกิดลักษณะพิเศษที่ต้องการ รวมถึงการตัด และต่อพันธุกรรม เช่น การตัดพันธุกรรมในการสร้างน้ำย่อยของเชื้อ R. oryzae ไปต่อเพิ่มให้กับ R. oryzae อีกตัวหนึ่ง ทำให้ R. oryzae ตัวที่ถูกเพิ่มพันธุกรรม สามารถสร้างน้ำย่อยได้มากขึ้น 2. การผลิตวัคซีน : วัคซีนทุกชนิดนับว่าเป็นผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีชีวภาพเช่นเดียวกัน วัคซีน อาจเตรียมได้จากเซลล์ของตัวก่อโรคทั้งหมด (Whole cells) หรือเตรียมจากเปลือกหุ้มตัวเชื้อ (Capsule) หรือ เตรียมจากส่วนขนละเอียดรอบตัวเชื้อ (Pilli) ก็ได้3. สารกระตุ้นการสร้างภูมิคุ้มกันโรค : ผนังเซลล์ของจุลินทรีย์บางชนิด มีส่วนประกอบของสารในกลุ่ม polysaccharides (เช่น Oligosaccharide และ Peptidoglycan เป็นต้น) สารพวกนี้ มีคุณสมบัติในการเกาะจับจุลินทรีย์ตัวก่อโรค และสามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันโรคได้ดีขึ้น ผลิตภัณฑ์ในกลุ่มนี้ มีตั้งแต่การใช้ตัวเซลล์ (Whole cell), สกัดเพียงบางส่วน เช่น สาร Oligosaccharide จากผนังเซลล์ของยีสต์ แบคทีเรีย Pediococcus spp. และ Lactobacillus บางสายพันธุ์4. น้ำย่อย หรือ เอ็นไซม์ : น้ำย่อยที่สร้างจากสัตว์แต่ละชนิด มีความสามารถในการย่อยวัตถุดิบอาหารสัตว์ได้แตกต่างกัน เมื่อให้สัตว์กินวัตถุดิบบางชนิดแล้ว สัตว์ไม่สามารถย่อยได้ ทำให้สิ้นเปลืองวัตถุดิบ ดังนั้นเป้าหมายของการใช้วัตถุดิบในปริมาณน้อย แต่ให้เกิดประโยชน์ (ย่อย) ได้ดีที่สุด ปัจจุบันจึงได้มีการผลิตน้ำย่อย ทั้งชนิดจำเพาะ เช่น น้ำย่อยที่ย่อยสารกลูแคน (Glucanase) หรือในรูปของน้ำย่อยรวม (Enzyme cocktail) มาใช้ผสมในอาหารสัตว์ ทำให้สามารถลดปริมาณการใช้วัตถุดิบได้ และสัตว์เจริญเติบโตได้ดี น้ำย่อยที่กล่าวถึงนี้ คือผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการสันดาป (Metabolic products) ซึ่งส่วนใหญ่มาจากกระบวนการหมักของจุลินทรีย์5. วิตามิน : วิตามิน เป็นผลิตภัณฑ์จากกระบวนการสันดาปที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติจากการผลิตของจุลินทรีย์ เช่น กากเบียร์ จะมีส่วนประกอบของวิตามิน บี หลายชนิด เป็นต้น6. โปรตีน และกรดอะมิโน : ตัวเซลล์ของจุลินทรีย์หลายชนิด มีส่วนประกอบของโปรตีน และกรดอะมิโน7. สารสกัดจากพืช : สารสกัดจากพืชบางชนิด มีคุณสมบัติ เป็นสารทำลายศัตรูพืช หรือ ออกฤทธิ์ทำลายแบคทีเรียบางชนิดได้8. สารเสริมชีวนะ : หรือ ที่เรียกว่า โปรไบโอติก เป็นผลิตภัณฑ์ทางเทคโนโลยีชีวภาพ ที่อาจกล่าวได้ว่า ผลิตภัณฑ์กลุ่มนี้ เป็นที่รู้จักมากที่สุดในวงการการเลี้ยงสัตว์ สารเสริมชีวนะ ประกอบด้วยกลุ่มของจุลินทรีย์ที่มีคุณประโยชน์ ได้แก่ แบคทีเรีย (Bacteria) ยีสต์ (Yeasts) และรา (Fungi) โดยเฉพาะพวกแบคทีเรีย ที่สามารถสร้างกรดแลคติค และกรดไขมันระเหย (Lactic acid and Volatile Fatty acid) ความสำคัญของสารเสริมชีวนะ นอกจากจะสร้างกรด เพื่อยับยั้งการเจริญของจุลินทรีย์ตัวก่อโรคแล้ว ยังมีความสามารถในการเจริญทวีจำนวนได้รวดเร็ว เบียดบัง หรือข่ม และแข่งจุลินทรีย์ที่ก่อโรคได้อีกด้วย และสารเสริมชีวนะนี้ ตัวเซลล์ยังประกอบด้วยสารสำคัญ ในการกระตุ้นการสร้างภูมิคุ้มกันโรค พวก polysaccharide และ peptidoglycan อีกด้วย มีผู้อธิบายถึงการที่จุลินทรีย์พวกนี้ สามารถสร้างสารคล้ายปฏิชีวนะ ทำลายจุลินทรีย์อื่น โดยเฉพาะตัวที่ก่อโรคได้เช่นเดียวกัน9. กลุ่มย่อยสลาย อินทรีย์ และอนินทรีย์สาร : จุลินทรีย์หลายชนิด โดยเฉพาะแบคทีเรีย ทำหน้าที่ในการย่อยสลายของเสียทั้งหมด ให้กลายเป็นโมเลกุลขนาดเล็กมาก จนพืชชั้นสูง และพืชเซลล์เดียว สามารถดูดซับสารอาหารไปใช้ประโยชน์ได้ ปัจจุบันสามารถเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์ เพื่อนำมาเป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการย่อยสลาย และควบคุมคุณภาพของน้ำเสียจากฟาร์ม อย่างแพร่หลาย10. การถนอมอาหาร : การถนอมอาหารโดยใช้จุลินทรีย์ ได้แก่ การหมัก และดองอาหาร เช่น การทำนมเปรี้ยว แหนม ผักดอง เป็นต้น11. เพิ่มคุณค่าทางอาหาร : เช่น จุลินทรีย์จะสร้างน้ำย่อย เพื่อย่อยน้ำตาลแลคโตสในน้ำนม ให้ได้เป็นน้ำตาลกลูโคส และน้ำตาลกาแลคโตส ซึ่งมนุษย์สามารถนำไปใช้ได้12. อุตสาหกรรมการผลิต : เช่น การผลิตเหล้าองุ่น เบียร์ แอลกอฮอล์ ที่นำมาใช้เป็นเชื้อเพลิง และใช้ฆ่าเชื้อ เป็นต้น
เทคโนโลยีชีวภาพ ใช้ประโยชน์ได้อย่างไร ?การขยาย และการปรับปรุงพันธุ์สิ่งมีชีวิตทั้งหลาย การนำผลผลิตจากสิ่งมีชีวิต ไปแปรรูปเป็นอาหาร หรือยา กระบวนการที่ใช้แปรรูปผลผลิตดังกล่าวในระดับโรงงาน กระบวนการที่ใช้สิ่งมีชีวิต เช่น จุลชีพ ในการบำบัดน้ำเสีย และรักษาสภาพแวดล้อม การนำของเสียจากสิ่งมีชีวิตไปใช้ประโยชน์ เช่น นำไปทำปุ๋ย เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
1. การตัดต่อยีน (genetic engineering) เทคโนโลยีดีเอ็นเอสายผสม (recombinant DNA) และเทคโนโลยีโมเลกุลเครื่องหมาย (molecular markers)2. การเพาะเลี้ยงเซลล์ และการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (cell and tissue culturing) พืช และสัตว์3. การใช้ประโยชน์จาก จุลินทรีย์บางชนิด หรือใช้ประโยชน์จากเอ็นไซม์ของจุลินทรีย์
เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร (Agricultural Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร เป็นการพัฒนาการเกษตร ด้านพืช และสัตว์ ด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ เช่นการปรับปรุงพันธุ์พืช และการผลิตพืชพันธุ์ใหม่ (crop improvement) เช่น พืชไร่ พืชผัก ไม้ดอก การผลิตพืชพันธุ์ดีให้ได้ปริมาณมากๆ ในระยะเวลาอันสั้น (micropropagation)การผสมพันธุ์สัตว์ และการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ (breeding and upgrading of livestocks)การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี (biological pest control) และจุลินทรีย์ที่ช่วยรักษาสภาพแวดล้อมการปรับปรุงขบวนการ การผลิตอาหารให้มีประสิทธิภาพ และมีความปลอดภัยต่อผู้บริโภคการริเริ่มค้นคว้าหาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ (search for utilization of unused resources) และการสร้างทรัพยากรใหม่ เป็นต้น
เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร ทำให้ผู้ขยายพันธุ์ สามารถสร้างพืช และสัตว์พันธุ์ใหม่ๆ ได้รวดเร็วกว่ากรรมวิธีการขยายพันธุ์แบบดั้งเดิม เป็นเครื่องมือแบบใหม่ ที่ให้โอกาสทางการเกษตร และช่วยกำจัดอุปสรรคที่มีอยู่ ผู้สนับสนุนเทคโนโลยีชีวภาพ เชื่อว่า เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร น่าจะเป็นประโยชน์ต่อ สุขอนามัยของมนุษย์ สิ่งแวดล้อม และการพัฒนาทางเศรษฐกิจเทคโนโลยีชีวภาพมีศักยภาพ ที่จะช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยการลดความจำเป็น ในการทำลายที่อยู่ทางธรรมชาติของพืช และสัตว์ และกรรมวิธีทางการเกษตร ที่สร้างความเสียหาย อาทิ การไถพรวน และ การใช้สารเคมีทางการเกษตร นอกจากนี้ เทคโนโลยีชีวภาพ ยังช่วยให้นักพัฒนาพันธุ์พืช และเกษตรกรได้รับผลกำไรเพิ่มขึ้น เพราะผลผลิตใหม่ๆ จะทำให้เกิดตลาดใหม่ๆ ช่วยลดต้นทุน ช่วยเปิดโอกาสพิเศษทางการเกษตรในการเพิ่มปริมาณ เพิ่มความปลอดภัย น่าเชื่อถือ เพิ่มคุณค่าทางโภชนาการของทรัพยากรอาหารของโลก ช่วยแก้ปัญหาทางสุขภาพที่เกิดจากการเกษตร (การที่เกษตรกรต้องสัมผัสกับสารเคมี) และ ปัญหาที่เกิดกับสิ่งแวดล้อม
เทคโนโลยีชีวภาพ กับการเลี้ยงกุ้งกุลาดำการเลี้ยงกุ้งกุลาดำในปัจจุบันประสบปัญหา และอุปสรรคมากมาย ที่ส่งผลกระทบต่อ การเลี้ยง และผลผลิต ตัวอย่างเช่น เกิดโรคระบาด, ปัญหาสภาพแวดล้อม และมลพิษ, ปัญหาสารเคมี และยาปฏิชีวนะตกค้าง, ปัญหาการปนเปื้อนของเชื้อโรค รวมถึงปัญหาการกีดกันทางการค้า และ เนื่องจากกระแสความต้องการผลิตภัณฑ์อาหารที่มีคุณภาพ ปราศจากการปนเปื้อนจากสารเคมี และยาปฏิชีวนะ ที่เป็นพิษต่อร่างกาย โดยมีกระบวนการผลิตที่ไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม เกิดขึ้นทั่วโลก ทำให้ประเทศไทย ซึ่งเป็นประเทศที่มีการผลิตกุ้งกุลาดำเป็นสินค้าส่งออกเป็นอันดับหนึ่งของโลกมานานกว่า 10 ปี อีกทั้งยังเป็นผู้นำทางด้านเทคโนโลยีในการผลิตอีกด้วย ต้องดำเนินการทุกวิถีทาง เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตกุ้งกุลาดำของไทย ให้มีประสิทธิภาพ และมีคุณภาพ เพื่อสนองต่อความต้องการของผู้บริโภค และตลาดโลกต่อไปในอนาคต
ดังนั้นในการเลี้ยงกุ้งกุลาดำ จึงจำเป็นต้องปรับปรุงกระบวนการผลิต เข้ามาสู่การผลิตระบบใหม่ คือ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพ หรือ “Organic farm” ซึ่งการเลี้ยงกุ้งด้วยระบบชีวภาพนี้ ผู้เลี้ยงต้องคำนึงถึงการจัดการสิ่งแวดล้อมภายในบ่อเป็นสำคัญ เพราะเป็นระบบที่ไม่ต้องการให้ใช้ยา หรือสารเคมีใดๆ ปัญหาที่เกิดขึ้นในระหว่างการเลี้ยง แก้ไขโดยอาศัยกระบวนการบำบัดตามธรรมชาติ หรือใช้สารสกัดชีวภาพ เพื่อช่วยกระตุ้นการทำงานตามกระบวนการธรรมชาติ ให้เกิดเร็วขึ้นเท่านั้น เทคโนโลยีชีวภาพเกิดขึ้นในทุกขั้นตอนของกระบวนการผลิตกุ้ง ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเทคโนโลยีชีวภาพ สามารถลดปัญหาต่างๆ ในกระบวนการผลิตได้ ดังนี้ ลดปัญหาการใช้สารเคมี, ลดปัญหาสารตกค้าง, ลดปัญหาการเกิดโรคติดเชื้อ, ลดปริมาณการใช้วัตถุดิบอย่างสิ้นเปลือง, ลดปัญหามลพิษ และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม, ลดปัญหาการกีดกันทางการค้า เป็นต้น และการใช้เทคโนโลยีชีวภาพนี้ ยังเป็นการผลิตกุ้งกุลาดำ ที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน เป็นการพัฒนาสู่ระบบการเลี้ยงแบบยั่งยืน อีกด้วย
ผลิตภัณฑ์ชีวภาพ : ผลิตภัณฑ์ทางชีวภาพ ที่ใช้ในการเลี้ยงกุ้ง มีหลายประเภท เช่น1. ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพน้ำ และการบำบัดน้ำ ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มจุลินทรีย์2. ผลิตภัณฑ์ สารเสริมชีวนะ หรือ โปรไบโอติก : เป็นกลุ่มของจุลินทรีย์3. ผลิตภัณฑ์ สารช่วยย่อย หรือน้ำย่อย : เป็นผลผลิตจากจุลินทรีย์4. ผลิตภัณฑ์ สารกระตุ้นการสร้างภูมิคุ้มกันโรค : เป็นผลผลิตจากจุลินทรีย์5. ผลิตภัณฑ์ สารบำบัด และรักษา : ผลผลิตจากจุลินทรีย์ และสารสกัดจากพืชธรรมชาติ
จะเห็นได้ว่า ผลิตภัณฑ์ชีวภาพที่ใช้ในการเลี้ยงกุ้งกุลาดำส่วนใหญ่เป็นจุลินทรีย์ที่มีความหลากหลายทั้งชนิด และสายพันธุ์ นอกจากนี้ ผลิตภัณฑ์ หรือสารชีวภาพ ยังมีสารสกัดจากพืชธรรมชาติ หรือที่เรียกว่า “สมุนไพร” รวมอยู่ด้วย สมุนไพร สามารถนำมาใช้เป็นสารทดแทนยาปฏิชีวนะ (Antibiotics) ได้ เนื่องจากสารสกัดจากสมุนไพรบางชนิด มีคุณสมบัติในการบำบัด และรักษาโรคในกุ้งกุลาดำได้เป็นอย่างดี
เป็นความรู้ หรือ วิชาการที่สามารถนำสิ่งมีชีวิต หรือ ผลผลิตจากสิ่งมีชีวิตมาใช้ หรือ มาปรับเปลี่ยน และประยุกต์ เพื่อใช้ประโยชน์ เรารู้จักการใช้เทคโนโลยีชีวภาพมานานแล้ว การทำน้ำปลา ซีอิ๊ว การหมักอาหาร หมักเหล้า ล้วนเป็นเทคโนโลยีชีวภาพแบบดั้งเดิม เช่นเดียวกับ การปรับปรุงพันธุ์พืช สัตว์ ให้มีผลผลิตมากขึ้น มีคุณภาพดีขึ้น หรือ การนำสมุนไพรมาใช้รักษาโรค บำรุงสุขภาพ ก็จัดว่าเป็นเทคโนโลยีชีวภาพแบบดั้งเดิม
อย่างไรก็ตามในปัจจุบันเมื่อกล่าวถึงเทคโนโลยีชีวภาพ เรามักหมายถึง เทคโนโลยีสมัยใหม่ ที่มีวิทยาศาสตร์หลายสาขาวิชาผสมผสานกันอยู่ ทั้งชีววิทยา เคมี ชีวเคมี ไปจนถึง ฟิสิกส์ และวิศวกรรม ซึ่งอาจเรียกได้ว่า เป็น “สหวิทยาการ” ที่นำความรู้พื้นฐานด้านต่างๆ เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต ไปใช้ให้เกิดประโยชน์
จากบทความทางวิชาการประกอบการอภิปราย เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพสำหรับฟาร์มเพาะและเลี้ยงกุ้งกุลาดำ โดย รศ. น.สพ. เกรียงศักดิ์ พูนสุข คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในงานวันกุ้งกุลาดำ ครั้งที่ 11 ที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้กล่าวไว้ว่า เทคโนโลยีชีวภาพ หมายถึง การนำหลักการ หรือวิทยาการทางวิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้มีคุณประโยชน์มากที่สุด จากการแปลความหมายของคำว่า BIO หมายถึง สิ่งมีชีวิต TECHNOLOGY หมายความถึง วิทยาการ หรือวิธีการ อาจสรุปง่ายๆว่า เทคโนโลยีชีวภาพ หมายถึง วิทยาการทางวิทยาศาสตร์ ในการนำเอาสิ่งมีชีวิตมาใช้
ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่ถูกจัดอยู่ในกลุ่มของเทคโนโลยีชีวภาพมีมากมาย ได้แก่
1. พันธุวิศวกรรม : เป็นกระบวนการ ที่เจาะจงเลือกหน่วยพันธุกรรม (Gene) บางตัวของสิ่งมีชีวิตชนิดใดชนิดหนึ่ง (ไม่ว่าจะเป็นพืช สัตว์ หรือ จุลินทรีย์) และนำไปใส่ในสิ่งมีชีวิตอีกประเภทหนึ่ง เพื่อทำให้เกิดลักษณะพิเศษที่ต้องการ รวมถึงการตัด และต่อพันธุกรรม เช่น การตัดพันธุกรรมในการสร้างน้ำย่อยของเชื้อ R. oryzae ไปต่อเพิ่มให้กับ R. oryzae อีกตัวหนึ่ง ทำให้ R. oryzae ตัวที่ถูกเพิ่มพันธุกรรม สามารถสร้างน้ำย่อยได้มากขึ้น 2. การผลิตวัคซีน : วัคซีนทุกชนิดนับว่าเป็นผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีชีวภาพเช่นเดียวกัน วัคซีน อาจเตรียมได้จากเซลล์ของตัวก่อโรคทั้งหมด (Whole cells) หรือเตรียมจากเปลือกหุ้มตัวเชื้อ (Capsule) หรือ เตรียมจากส่วนขนละเอียดรอบตัวเชื้อ (Pilli) ก็ได้3. สารกระตุ้นการสร้างภูมิคุ้มกันโรค : ผนังเซลล์ของจุลินทรีย์บางชนิด มีส่วนประกอบของสารในกลุ่ม polysaccharides (เช่น Oligosaccharide และ Peptidoglycan เป็นต้น) สารพวกนี้ มีคุณสมบัติในการเกาะจับจุลินทรีย์ตัวก่อโรค และสามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันโรคได้ดีขึ้น ผลิตภัณฑ์ในกลุ่มนี้ มีตั้งแต่การใช้ตัวเซลล์ (Whole cell), สกัดเพียงบางส่วน เช่น สาร Oligosaccharide จากผนังเซลล์ของยีสต์ แบคทีเรีย Pediococcus spp. และ Lactobacillus บางสายพันธุ์4. น้ำย่อย หรือ เอ็นไซม์ : น้ำย่อยที่สร้างจากสัตว์แต่ละชนิด มีความสามารถในการย่อยวัตถุดิบอาหารสัตว์ได้แตกต่างกัน เมื่อให้สัตว์กินวัตถุดิบบางชนิดแล้ว สัตว์ไม่สามารถย่อยได้ ทำให้สิ้นเปลืองวัตถุดิบ ดังนั้นเป้าหมายของการใช้วัตถุดิบในปริมาณน้อย แต่ให้เกิดประโยชน์ (ย่อย) ได้ดีที่สุด ปัจจุบันจึงได้มีการผลิตน้ำย่อย ทั้งชนิดจำเพาะ เช่น น้ำย่อยที่ย่อยสารกลูแคน (Glucanase) หรือในรูปของน้ำย่อยรวม (Enzyme cocktail) มาใช้ผสมในอาหารสัตว์ ทำให้สามารถลดปริมาณการใช้วัตถุดิบได้ และสัตว์เจริญเติบโตได้ดี น้ำย่อยที่กล่าวถึงนี้ คือผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการสันดาป (Metabolic products) ซึ่งส่วนใหญ่มาจากกระบวนการหมักของจุลินทรีย์5. วิตามิน : วิตามิน เป็นผลิตภัณฑ์จากกระบวนการสันดาปที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติจากการผลิตของจุลินทรีย์ เช่น กากเบียร์ จะมีส่วนประกอบของวิตามิน บี หลายชนิด เป็นต้น6. โปรตีน และกรดอะมิโน : ตัวเซลล์ของจุลินทรีย์หลายชนิด มีส่วนประกอบของโปรตีน และกรดอะมิโน7. สารสกัดจากพืช : สารสกัดจากพืชบางชนิด มีคุณสมบัติ เป็นสารทำลายศัตรูพืช หรือ ออกฤทธิ์ทำลายแบคทีเรียบางชนิดได้8. สารเสริมชีวนะ : หรือ ที่เรียกว่า โปรไบโอติก เป็นผลิตภัณฑ์ทางเทคโนโลยีชีวภาพ ที่อาจกล่าวได้ว่า ผลิตภัณฑ์กลุ่มนี้ เป็นที่รู้จักมากที่สุดในวงการการเลี้ยงสัตว์ สารเสริมชีวนะ ประกอบด้วยกลุ่มของจุลินทรีย์ที่มีคุณประโยชน์ ได้แก่ แบคทีเรีย (Bacteria) ยีสต์ (Yeasts) และรา (Fungi) โดยเฉพาะพวกแบคทีเรีย ที่สามารถสร้างกรดแลคติค และกรดไขมันระเหย (Lactic acid and Volatile Fatty acid) ความสำคัญของสารเสริมชีวนะ นอกจากจะสร้างกรด เพื่อยับยั้งการเจริญของจุลินทรีย์ตัวก่อโรคแล้ว ยังมีความสามารถในการเจริญทวีจำนวนได้รวดเร็ว เบียดบัง หรือข่ม และแข่งจุลินทรีย์ที่ก่อโรคได้อีกด้วย และสารเสริมชีวนะนี้ ตัวเซลล์ยังประกอบด้วยสารสำคัญ ในการกระตุ้นการสร้างภูมิคุ้มกันโรค พวก polysaccharide และ peptidoglycan อีกด้วย มีผู้อธิบายถึงการที่จุลินทรีย์พวกนี้ สามารถสร้างสารคล้ายปฏิชีวนะ ทำลายจุลินทรีย์อื่น โดยเฉพาะตัวที่ก่อโรคได้เช่นเดียวกัน9. กลุ่มย่อยสลาย อินทรีย์ และอนินทรีย์สาร : จุลินทรีย์หลายชนิด โดยเฉพาะแบคทีเรีย ทำหน้าที่ในการย่อยสลายของเสียทั้งหมด ให้กลายเป็นโมเลกุลขนาดเล็กมาก จนพืชชั้นสูง และพืชเซลล์เดียว สามารถดูดซับสารอาหารไปใช้ประโยชน์ได้ ปัจจุบันสามารถเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์ เพื่อนำมาเป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการย่อยสลาย และควบคุมคุณภาพของน้ำเสียจากฟาร์ม อย่างแพร่หลาย10. การถนอมอาหาร : การถนอมอาหารโดยใช้จุลินทรีย์ ได้แก่ การหมัก และดองอาหาร เช่น การทำนมเปรี้ยว แหนม ผักดอง เป็นต้น11. เพิ่มคุณค่าทางอาหาร : เช่น จุลินทรีย์จะสร้างน้ำย่อย เพื่อย่อยน้ำตาลแลคโตสในน้ำนม ให้ได้เป็นน้ำตาลกลูโคส และน้ำตาลกาแลคโตส ซึ่งมนุษย์สามารถนำไปใช้ได้12. อุตสาหกรรมการผลิต : เช่น การผลิตเหล้าองุ่น เบียร์ แอลกอฮอล์ ที่นำมาใช้เป็นเชื้อเพลิง และใช้ฆ่าเชื้อ เป็นต้น
เทคโนโลยีชีวภาพ ใช้ประโยชน์ได้อย่างไร ?การขยาย และการปรับปรุงพันธุ์สิ่งมีชีวิตทั้งหลาย การนำผลผลิตจากสิ่งมีชีวิต ไปแปรรูปเป็นอาหาร หรือยา กระบวนการที่ใช้แปรรูปผลผลิตดังกล่าวในระดับโรงงาน กระบวนการที่ใช้สิ่งมีชีวิต เช่น จุลชีพ ในการบำบัดน้ำเสีย และรักษาสภาพแวดล้อม การนำของเสียจากสิ่งมีชีวิตไปใช้ประโยชน์ เช่น นำไปทำปุ๋ย เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
1. การตัดต่อยีน (genetic engineering) เทคโนโลยีดีเอ็นเอสายผสม (recombinant DNA) และเทคโนโลยีโมเลกุลเครื่องหมาย (molecular markers)2. การเพาะเลี้ยงเซลล์ และการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (cell and tissue culturing) พืช และสัตว์3. การใช้ประโยชน์จาก จุลินทรีย์บางชนิด หรือใช้ประโยชน์จากเอ็นไซม์ของจุลินทรีย์
เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร (Agricultural Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร เป็นการพัฒนาการเกษตร ด้านพืช และสัตว์ ด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ เช่นการปรับปรุงพันธุ์พืช และการผลิตพืชพันธุ์ใหม่ (crop improvement) เช่น พืชไร่ พืชผัก ไม้ดอก การผลิตพืชพันธุ์ดีให้ได้ปริมาณมากๆ ในระยะเวลาอันสั้น (micropropagation)การผสมพันธุ์สัตว์ และการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ (breeding and upgrading of livestocks)การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี (biological pest control) และจุลินทรีย์ที่ช่วยรักษาสภาพแวดล้อมการปรับปรุงขบวนการ การผลิตอาหารให้มีประสิทธิภาพ และมีความปลอดภัยต่อผู้บริโภคการริเริ่มค้นคว้าหาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ (search for utilization of unused resources) และการสร้างทรัพยากรใหม่ เป็นต้น
เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร ทำให้ผู้ขยายพันธุ์ สามารถสร้างพืช และสัตว์พันธุ์ใหม่ๆ ได้รวดเร็วกว่ากรรมวิธีการขยายพันธุ์แบบดั้งเดิม เป็นเครื่องมือแบบใหม่ ที่ให้โอกาสทางการเกษตร และช่วยกำจัดอุปสรรคที่มีอยู่ ผู้สนับสนุนเทคโนโลยีชีวภาพ เชื่อว่า เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร น่าจะเป็นประโยชน์ต่อ สุขอนามัยของมนุษย์ สิ่งแวดล้อม และการพัฒนาทางเศรษฐกิจเทคโนโลยีชีวภาพมีศักยภาพ ที่จะช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยการลดความจำเป็น ในการทำลายที่อยู่ทางธรรมชาติของพืช และสัตว์ และกรรมวิธีทางการเกษตร ที่สร้างความเสียหาย อาทิ การไถพรวน และ การใช้สารเคมีทางการเกษตร นอกจากนี้ เทคโนโลยีชีวภาพ ยังช่วยให้นักพัฒนาพันธุ์พืช และเกษตรกรได้รับผลกำไรเพิ่มขึ้น เพราะผลผลิตใหม่ๆ จะทำให้เกิดตลาดใหม่ๆ ช่วยลดต้นทุน ช่วยเปิดโอกาสพิเศษทางการเกษตรในการเพิ่มปริมาณ เพิ่มความปลอดภัย น่าเชื่อถือ เพิ่มคุณค่าทางโภชนาการของทรัพยากรอาหารของโลก ช่วยแก้ปัญหาทางสุขภาพที่เกิดจากการเกษตร (การที่เกษตรกรต้องสัมผัสกับสารเคมี) และ ปัญหาที่เกิดกับสิ่งแวดล้อม
เทคโนโลยีชีวภาพ กับการเลี้ยงกุ้งกุลาดำการเลี้ยงกุ้งกุลาดำในปัจจุบันประสบปัญหา และอุปสรรคมากมาย ที่ส่งผลกระทบต่อ การเลี้ยง และผลผลิต ตัวอย่างเช่น เกิดโรคระบาด, ปัญหาสภาพแวดล้อม และมลพิษ, ปัญหาสารเคมี และยาปฏิชีวนะตกค้าง, ปัญหาการปนเปื้อนของเชื้อโรค รวมถึงปัญหาการกีดกันทางการค้า และ เนื่องจากกระแสความต้องการผลิตภัณฑ์อาหารที่มีคุณภาพ ปราศจากการปนเปื้อนจากสารเคมี และยาปฏิชีวนะ ที่เป็นพิษต่อร่างกาย โดยมีกระบวนการผลิตที่ไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม เกิดขึ้นทั่วโลก ทำให้ประเทศไทย ซึ่งเป็นประเทศที่มีการผลิตกุ้งกุลาดำเป็นสินค้าส่งออกเป็นอันดับหนึ่งของโลกมานานกว่า 10 ปี อีกทั้งยังเป็นผู้นำทางด้านเทคโนโลยีในการผลิตอีกด้วย ต้องดำเนินการทุกวิถีทาง เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตกุ้งกุลาดำของไทย ให้มีประสิทธิภาพ และมีคุณภาพ เพื่อสนองต่อความต้องการของผู้บริโภค และตลาดโลกต่อไปในอนาคต
ดังนั้นในการเลี้ยงกุ้งกุลาดำ จึงจำเป็นต้องปรับปรุงกระบวนการผลิต เข้ามาสู่การผลิตระบบใหม่ คือ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพ หรือ “Organic farm” ซึ่งการเลี้ยงกุ้งด้วยระบบชีวภาพนี้ ผู้เลี้ยงต้องคำนึงถึงการจัดการสิ่งแวดล้อมภายในบ่อเป็นสำคัญ เพราะเป็นระบบที่ไม่ต้องการให้ใช้ยา หรือสารเคมีใดๆ ปัญหาที่เกิดขึ้นในระหว่างการเลี้ยง แก้ไขโดยอาศัยกระบวนการบำบัดตามธรรมชาติ หรือใช้สารสกัดชีวภาพ เพื่อช่วยกระตุ้นการทำงานตามกระบวนการธรรมชาติ ให้เกิดเร็วขึ้นเท่านั้น เทคโนโลยีชีวภาพเกิดขึ้นในทุกขั้นตอนของกระบวนการผลิตกุ้ง ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเทคโนโลยีชีวภาพ สามารถลดปัญหาต่างๆ ในกระบวนการผลิตได้ ดังนี้ ลดปัญหาการใช้สารเคมี, ลดปัญหาสารตกค้าง, ลดปัญหาการเกิดโรคติดเชื้อ, ลดปริมาณการใช้วัตถุดิบอย่างสิ้นเปลือง, ลดปัญหามลพิษ และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม, ลดปัญหาการกีดกันทางการค้า เป็นต้น และการใช้เทคโนโลยีชีวภาพนี้ ยังเป็นการผลิตกุ้งกุลาดำ ที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน เป็นการพัฒนาสู่ระบบการเลี้ยงแบบยั่งยืน อีกด้วย
ผลิตภัณฑ์ชีวภาพ : ผลิตภัณฑ์ทางชีวภาพ ที่ใช้ในการเลี้ยงกุ้ง มีหลายประเภท เช่น1. ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพน้ำ และการบำบัดน้ำ ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มจุลินทรีย์2. ผลิตภัณฑ์ สารเสริมชีวนะ หรือ โปรไบโอติก : เป็นกลุ่มของจุลินทรีย์3. ผลิตภัณฑ์ สารช่วยย่อย หรือน้ำย่อย : เป็นผลผลิตจากจุลินทรีย์4. ผลิตภัณฑ์ สารกระตุ้นการสร้างภูมิคุ้มกันโรค : เป็นผลผลิตจากจุลินทรีย์5. ผลิตภัณฑ์ สารบำบัด และรักษา : ผลผลิตจากจุลินทรีย์ และสารสกัดจากพืชธรรมชาติ
จะเห็นได้ว่า ผลิตภัณฑ์ชีวภาพที่ใช้ในการเลี้ยงกุ้งกุลาดำส่วนใหญ่เป็นจุลินทรีย์ที่มีความหลากหลายทั้งชนิด และสายพันธุ์ นอกจากนี้ ผลิตภัณฑ์ หรือสารชีวภาพ ยังมีสารสกัดจากพืชธรรมชาติ หรือที่เรียกว่า “สมุนไพร” รวมอยู่ด้วย สมุนไพร สามารถนำมาใช้เป็นสารทดแทนยาปฏิชีวนะ (Antibiotics) ได้ เนื่องจากสารสกัดจากสมุนไพรบางชนิด มีคุณสมบัติในการบำบัด และรักษาโรคในกุ้งกุลาดำได้เป็นอย่างดี
เทคโนโลยีทางการแพทย์
เทคโนโลยีทางการแพทย์
เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ความเร็วสูง
โรคหลอดเลือดหัวใจตีบเป็นโรคที่พบบ่อย และเป็นมัจจุราชเงียบที่คร่าชีวิตประชากรโลกในแต่ละปีเป็นอันดับต้นๆ
โรคนี้เกิดจากการที่หลอดเลือดโคโรนารีซึ่งส่งเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจเกิดการตีบแคบหรือถูกอุดกั้น ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และออกซิเจน เมื่อผู้ป่วยเกิดสภาวะหลอดเลือดอุดตันก็จะมีอาการเจ็บหน้าอก เหนื่อยง่ายเวลาออกกำลังกาย และหากหลอดเลือดโคโรนารีเกิดการอุดตันอย่างสมบูรณ์ ก็อาจทำให้เกิดอาการหัวใจวายเฉียบพลัน (Acute heart attack) และเสียชีวิตได้ในที่สุด ดังนั้น ยิ่งตรวจเจอโรคนี้เร็วเท่าไหร่ ก็จะยิ่งช่วยรักษาชีวิตให้ยืนยาวได้มากขึ้นเท่านั้น
การวินิจฉัยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบสามารถทำได้โดยการตรวจร่างกาย ประวัติความเจ็บป่วย และการใช้เครื่องมือพิเศษ เช่น Electrocardiography (คลื่นไฟฟ้าหัวใจ) Echocardiography (Ultrasound heart) Magnetic resonance imaging (MRI) เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ความเร็วสูง (Multi detector computed tomography) หรือ การตรวจสวนหัวใจ (Cardiac catheterization) ซึ่งถือเป็น Gold Standard ในการตรวจหลอดเลือดหัวใจโดยตรง เพราะเห็นพยาธิสภาพที่เกิดในหลอดเลือดหัวใจอย่างชัดเจน แต่วิธีการนี้อาจจะไม่สะดวกสำหรับผู้ที่มีความเสี่ยงต่ำในการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบแต่มีอาการน่าสงสัย เพราะจะต้องสอดใส่อุปกรณ์การตรวจเข้าไปภายในร่างกาย
ด้วยวิวัฒนาการทางการแพทย์ที่เจริญก้าวหน้า เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (Computed Tomography) จึงได้รับการพัฒนาอย่างมากจนเป็น Multi slice CT scan (MSCT) ซึ่งถูกนำมาใช้ในการวินิจฉัยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โดยนวัตกรรมล่าสุด คือ เครื่อง 256-slice multi-detector CT scan ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น และด้วยความพร้อมด้านการแพทย์ระดับแนวหน้าผสานกับประสบการณ์การรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือดมากที่สุดแห่งหนึ่งในภูมิภาค วันนี้โรงพยาบาลหัวใจกรุงเทพ พร้อมแล้วที่จะก้าวไปสู่การตรวจรักษาโรคหัวใจแห่งศตวรรษที่ 21 ด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ความเร็วสูงสุด 256-slice multi-detector CT scan เครื่องแรกในประเทศไทย
256-slice multi-detector CT scan ได้รับการพัฒนาจากเครื่อง 64-slice CT scan ที่ถูกนำมาใช้ในการวินิจฉัยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตั้งแต่ปี 2547 แม้ว่าเครื่อง 64- slice CT scan จะสามารถใช้อย่างได้ผลและสะดวกขึ้นเมื่อเทียบกับการตรวจสวนหัวใจ ทั้งยังสามารถบอกปริมาณคราบหินปูนที่จับเกาะอยู่ในผนังหลอดเลือดโคโรนารี ซึ่งสามารถนำไปใช้เป็นตัวพยากรณ์ความเสี่ยงในการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบใน อนาคตร่วมกับปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ได้ แต่เครื่อง 64-slice CT scan ก็ยังมีข้อจำกัดในการตรวจหาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบในผู้ป่วยที่มีอัตราการเต้น ของหัวใจเร็วกว่า 70 ครั้งต่อนาที หรือหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดอื่นๆ
ดีอย่างไร
256-slice multi-detector CT scan สามารถใช้ตรวจหาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบได้ในผู้ป่วยที่มีอัตราการเต้นของหัวใจเร็วกว่า 70 ครั้งต่อนาที เครื่องนี้ยังมีข้อดีกว่าคือให้ภาพผลการตรวจที่คมชัดกว่า ครอบคลุมอาณาบริเวณของอวัยวะที่ต้องการตรวจมากกว่า มีความแม่นยำสูง เวลาที่ใช้ในการตรวจน้อยกว่า อีกทั้งการหมุนของเครื่องสแกนต่อรอบกินเวลาเพียง 0.27 วินาที ทำให้ผู้ป่วยได้รับรังสีเอกซเรย์ในการรับการตรวจวินิจฉัยโรคน้อยลงถึง 80%
256-slice multi-detector CT scan จะแสดงภาพอวัยวะที่มีการเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา เช่น หัวใจ ให้ภาพที่มีความละเอียดสูงจนสามารถใช้ตรวจดูภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบ นอกจากนี้ ยังสามารถตรวจปริมาณการสะสมของหินปูนในผนังหลอดเลือด และความผิดปกติของหลอดเลือดได้ในคราวเดียวกัน ทั้งยังให้ผลเบื้องต้นที่รวดเร็วกว่า เนื่องจากใช้เวลาในการตรวจน้อยกว่า และข้อมูลจากการตรวจจะได้รับการแปลผลโดยรังสีแพทย์และอายุรแพทย์โรคหัวใจ ทำให้ทราบผลได้เร็ว (ภายในเวลาเพียง 1-2 ชั่วโมงกรณีเร่งด่วน)
เหมาะกับใครบ้าง
การตรวจหลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่อง 256-slice multi-detector CT scan จึงนับเป็นวิธีตรวจวินิจฉัยที่เป็นทางเลือกหนึ่งสำหรับผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงเล็กน้อยถึงปานกลาง และมีอาการของโรคหลอดเลือดหัวใจตีบไม่ชัดเจน เพราะวิธีนี้ทำได้รวดเร็วและมีความแม่นยำสูง โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีปริมาณคราบหินปูนเกาะอยู่บริเวณผนังของหลอดเลือดโคโรนารีไม่มากนัก
กลุ่มผู้มีความเสี่ยงสูงที่จะเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ ไม่ว่าจะเป็นชายอายุ 40 ปีขึ้นไป หญิงอายุ 55 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะของการเป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง สูบบุหรี่ เครียด ขาดการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ หรือมีประวัติสมาชิกในครอบครัวเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ ว่าควรระมัดระวัง และตรวจสุขภาพอย่างสม่ำเสมอ เพราะโรคนี้อันตรายถึงชีวิต
การปฏิบัติตัวเพื่อรับการตรวจ
การปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิต
การปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิต (Hematopoietic stem cell transplantation) เป็นวิทยาการความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ ที่สามารถรักษาผู้ป่วยที่เป็นโรคร้ายแรงหลายชนิดให้มีโอกาสหายขาดได้ โดยความสำเร็จขึ้นอยู่กับสภาพร่างกาย และจิตใจของผู้ป่วย การมีผู้บริจาค stem cell ที่เหมาะสม ประสบการณ์ความพร้อม ความเชี่ยวชาญของแพทย์ และพยาบาลผู้ดูแลรักษา และที่สำคัญคือกำลังใจจากบิดามารดา ผู้ปกครอง และญาติพี่น้องของผู้ป่วย หรือจากบุคคลใกล้ชิด
เซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิต (Hematopoietic stem cells) คืออะไร ?
คือ เซลล์ตัวอ่อน หรือเซลล์ต้นกำเนิด (parent cells) ที่อยู่ในไขกระดูก ซึ่งสามารถเจริญเติบโต และแบ่งตัวพัฒนาไปเป็นเซลล์เม็ดเลือดชนิดต่างๆ คือ
คือ การเปลี่ยนหรือแทนที่ stem cell ที่ผิดปรกติด้วย stem cell ที่ปรกติ Stem cell ที่ปรกตินั้นได้มาจากผู้บริจาค และนำมาให้แก่ผู้ป่วย (ผู้รับ) หลังจากที่ผู้ป่วยได้รับยาเคมีบำบัดหรือรังสีรักษาขนาดสูง ที่เรียกว่า "การเตรียมสภาพผู้ป่วย" (Conditioning) ซึ่งใช้เวลานาน 5-9 วัน แล้วแต่โรค และสภาพของผู้ป่วย
ในผู้ป่วยโรคมะเร็ง เหตุผลที่ผู้ป่วยต้องได้รับการเตรียมสภาพก็เพื่อทำลายเซลล์มะเร็งที่ยังเหลือซ่อนเร้นในร่างกาย ในเด็กที่ป่วยด้วยโรคทางพันธุกรรม การเตรียมสภาพเพื่อทำให้เกิดที่ว่างในไขกระดูกผู้ป่วย เพื่อให้ stem cell จากผู้บริจาคมีที่ที่จะเจริญเติบโต และเพื่อกดภูมิคุ้มกันของผู้ป่วยไม่ให้ต่อต้าน stem cell ของผู้บริจาค ต่อจากระยะการเตรียมสภาพ จะเป็นระยะเวลาของการปลูกถ่าย โดยการให้ stem cell เข้าไปในตัวผู้ป่วยผ่านทางสายสวนเส้นเลือดดำใหญ่ ด้วยวิธีการคล้ายคลึงกับการให้เลือด (blood transfusion) ไม่จำเป็นต้องฉีดโดยตรงเข้าไปในไขกระดูกผู้ป่วย Stem cell นั้นจะไหลเวียนในกระแสเลือดผู้ป่วย และเข้าไปอยู่ในไขกระดูกได้เอง จากนั้นจะเริ่มเจริญเติบโตต่อไป
ใครควรได้รับการปลูกถ่าย stem cell ?
แหล่งของเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตหาได้จากไหน ?
ผู้บริจาค stem cell ควรเป็นผู้ที่มีหมู่เนื้อเยื่อ HLA 6 หมู่หลักตรงกันหรือเข้ากันได้กับผู้ป่วยจึงจะมีโอกาสปลูกถ่ายติดสำเร็จสูง และเกิดภาวะแทรกซ้อน Graft-versus-Host disease (GvHD) น้อยหรือไม่เกิดเลย หมู่ HLA หรือ Human Leukocyte Antigen หลักดังกล่าวประกอบด้วย HLA-A, -B, -DR อย่างละ 2 ตำแหน่ง
ผู้บริจาคส่วนใหญ่ที่หาได้มักจะเป็นพี่หรือน้องร่วมบิดามารดาเดียวกันกับผู้ป่วย เนื่องจากโอกาสที่พี่น้องจะมี HLA ตรงกันทุกประการเท่ากับร้อยละ 25 หรือ 1 ใน 4 ส่วนตัวบิดามารดาเองจะมี HLA ตรงกับผู้ป่วยเพียงครึ่งเดียวเท่านั้น
ถ้าผู้ป่วยเป็นบุตรคนเดียว หรือไม่มีพี่น้องที่มี HLA ตรงกัน แพทย์สามารถสรรหาผู้บริจาคที่เป็นอาสาสมัคร (Unrelated, volunteer donor) ได้จากศูนย์กลางการขึ้นทะเบียนอาสาสมัครบริจาค stem cell คนไทยที่เรียกว่า National Stem Cell Donor Registry ของศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย นอกจากนี้ ศูนย์ฯ ยังเป็นสื่อกลางในการติดต่อแสวงหาผู้บริจาคจากต่างประเทศด้วย
กระบวนการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตโดยสังเขป
หลังจากผู้ป่วยได้รับการเตรียมสภาพ และได้รับการปลูกถ่าย ต้องใช้เวลานาน 2-3 สัปดาห์กว่าที่ stem cell ใหม่จะเริ่มปลูกติด ผู้ป่วยต้องพักรักษาตัวในโรงพยาบาล ในห้องเดี่ยวปลอดเชื้อที่ติดตั้งเครื่องกรองเชื้อโรค ฝุ่นละออง และเป็นแรงดันบวก ผู้ป่วยได้รับการเฝ้าระวังป้องกันรักษาภาวะแทรกซ้อน ต้องได้รับยาป้องกันการติดเชื้อ ต้องได้รับเลือด และเกร็ดเลือดที่ผ่านการเตรียมอย่างพิเศษ ได้รับยาช่วยกระตุ้นการปลูกถ่ายติด และยากดภูมิต้านทานเพื่อป้องกันภาวะ GvHD ผู้ป่วยบางรายต้องได้รับสารอาหารทางหลอดเลือด ผู้ป่วยมักต้องพักอยู่ในโรงพยาบาลนานประมาณ 6-8 สัปดาห์จึงจะฟื้นตัวแข็งแรงพอที่จะสามารถกลับบ้านได้
เครื่องช่วยในการผ่าตัดด้วยระบบคอมพิวเตอร์สร้างภาพแบบสามมิติ (O-Arm)
O-Arm คือ เครื่องช่วยในการผ่าตัดด้วยระบบคอมพิวเตอร์สร้างภาพแบบสามมิติ ที่เรียกว่า เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ “โออาร์ม” (O-Arm) ทำงาน ร่วมกับเครื่องมือผ่าตัดนำวิถี (Navigation system) มีชื่อเรียกว่า “สเต็ลท์” (Stealth) มาช่วยผ่าตัดได้แม่นยำและ ปลอดภัยมากขึ้น ซึ่งถือเป็นเครื่องแรกในประเทศไทย
ข้อดีของเครื่องโออาร์ม คือ เป็นเครื่องที่สามารถเข็นไปในห้องผ่าตัดคร่อมตัวคนไข้เพื่อถ่ายภาพในท่านอนท่าไหนก็ได้ นอกจากนี้ยังสามารถถ่ายรูปได้หลายรูป และหลายมุม ทั้งด้านบน ด้านล่าง และด้านข้าง รวมทั้งสามารถถ่ายรูปได้ 600 รูป ภายในเวลา 10 วินาที ทำให้ได้รูปมากและมีข้อมูลดี ซึ่งเราสามารถนำภาพนี้มาแสดงเป็นภาพสามมิติ ถือเป็นการช่วยในการผ่าตัดได้แม่นยำยิ่งขึ้น
นอกจากนี้เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ฯ ยังสามารถสร้างภาพแบบสามมิติบันทึกภาพในขณะผ่าตัดกระดูกสันหลังจริงขณะที่ผู้ป่วยนอนอยู่บนเตียง ผ่าตัด ซึ่งเป็นภาพที่ชัดเจน และแสดงตำแหน่งของกระดูกสันหลังอย่างละเอียดและแปลงภาพออกมาในรูปแบบแอนิเมชั่นสามมิติ โดยขณะแพทย์เคลื่อนไหวเครื่องมือขณะผ่าตัดจะมองเห็นการทำงานในขั้นตอนที่สำคัญ เช่น การใส่โลหะในกระดูกสันหลัง และที่สำคัญยังทำให้แพทย์กำหนดตำแหน่งที่ปลอดภัยในการวางเครื่องมือต่างๆ ได้ด้วยความแม่นยำสูงแม้ว่ากระดูกสันหลังจะผิดรูปก็ตาม
โดยเครื่องสร้างภาพแบบสามมิตินี้จะใช้ร่วมกับระบบนำวิถีสเต็ลท์ เพื่อนำข้อมูลจากภาพสามมิติที่ได้มา ช่วยศัลยแพทย์ในการประเมินระยะที่สามารถเข้าถึงบริเวณที่ต้องการผ่าตัดได้แม่นยำ และรวดเร็ว โดยไม่ต้องเปิดแผลใหญ่ และยังเป็นผลดี ต่อบุคลากรทางการแพทย์ และผู้ป่วย เนื่องจากได้รับรังสีน้อย
เครื่องมือนี้จะช่วยให้แพทย์กำหนดจุดต่างๆ ในกระดูกสันหลังได้มากถึงระดับเศษส่วนของมิลลิเมตร ทำให้สามารถวางโลหะช่วยเชื่อมกระดูกได้แม่นยำ นอกจากนี้ เครื่อง มือทั้ง 2 ยังสามารถใช้งาน ร่วมกับกล้องจุลทรรศน์ ที่ใช้ในการผ่าตัดจุดศัลยกรรมในสมอง ทำให้ศัลยแพทย์สามารถกำหนดตำแหน่งเนื้องอกในสมองหรือจุดต่างๆ ในสมองได้และใช้เวลาไม่มาก ซึ่งใน อนาคตจะมีการศึกษาเพื่อนำไปใช้ในการผ่าตัดสมองด้วย
ศัลยกรรมย้ายเซลล์รากผม
เป็นวิธีรักษาที่ได้ผลดี และมีความปลอดภัยสูง เพราะจะใช้แค่เพียงยาชาเฉพาะที่ใช้กันอยู่ทั่วไปเท่านั้น และเป็นวิธีที่แพทย์ปลูกผมทั้งหลายทั่วโลกใช้กันอยู่ในปัจจุบัน
หลักการสำคัญสำหรับการปลูกผมโดยการย้ายเซลล์ก็คือ แพทย์จะย้ายเซลล์ผมตรงบริเวณท้ายทอย หรือเซลล์ผมตรงบริเวณขมับเหนือกกหูทั้งสองข้างมาปลูกยังบริเวณศีรษะล้าน ทดแทนเส้นผมเดิมที่สูญเสียไป
เซลล์เส้นผมตรงบริเวณท้ายทอย และขมับเหนือกกหูนี้มีลักษณะพิเศษต่างจากเซลล์เส้นผมบริเวณอื่นคือเซลล์บริเวณนี้จะไม่
ตอบสนองต่อฮอร์โมนเพศชายจึงไม่เสื่อม หรือตายไปเช่นเซลล์เส้นผมบริเวณอื่น ผมที่ปลูกจึงอยู่กับเราไปตลอดชีวิต ตราบใดที่ผมตรงบริเวณ
ท้ายทอยหรือผมตรงบริเวณขมับนี้ยังอยู่ ผมที่ปลูกก็จะยังอยู่เช่นเดียวกัน เพราะมาจากที่เดียวกัน เพราะฉะนั้นเมื่อเราย้ายเซลล์รากผมไปปลูก
ยังบริเวณศีรษะล้าน เซลล์รากผมนั้นก็จะสร้างเส้นผมขึ้นมาใหม่และอยู่อย่างถาวร
ข้อดี
** ต้องดูที่หลายปัจจัยคือ ประสบการณ์ เทคนิคการทำ ทีมที่ทำ ผลงานที่ออกมา การฝึกอบรม และคุณวุฒิของแพทย์ ซึ่งสามารถขอข้อมูลของแพทย์จากสมาคมศัลยแพทย์ปลูกผม (ไม่ใช่ศัลยแพทย์พลาสติก)
เครื่องแกมม่าไนฟ์
โรงพยาบาลกรุงเทพ เป็นหน่วยงานที่มีระบบการบริหาร แยกเป็นอิสระจากศูนย์อื่น และเป็นศูนย์เปิด เพื่อให้แพทย์จากโรงพยาบาล ทั้งภาครัฐบาล และเอกชน สามารถมาใช้ศูนย์นี้ได้ โดยส่งผู้ป่วยมา และแพทย์ สามารถเข้ามาดูแลผู้ป่วยได้ หรือจะร่วมในการรักษา พร้อมแพทย์ประจำศูนย์ด้วยก็ได้ ศูนย์ศัลยกรรมแกมม่าสมองกรุงเทพ ได้เปิดขึ้นเป็นแห่งแรกใน Southeast Asia นับเป็นการช่วยให้ผู้ป่วย ที่เป็นโรคทางสมอง สามารถรักษาได้โดยไม่ต้องผ่าตัด เป็นการสร้างคุณภาพชีวิต ให้กลับคืนมาเหมือนเดิม หรือใกล้เคียงในระยะเวลาอันสั้น ทั้งยังช่วยให้ผู้ป่วย ไม่ต้องสูญเสียค่าใช้จ่าย มากเกินจำเป็น ในการเดินทางไปรักษาในต่างประเทศ
เครื่องแกมม่าไนฟ์ ประกอบด้วยรังสี จากต้นกำเนิดรังสีของ Cobalt - 60 จำนวน 201 ลำแสง ซึ่งพุ่งผ่านช่องทาง (Collimator) ของหมวกเกราะ (Helmet) ยิงตรงไปที่เป้าหมายในสมอง หมวกเกราะนี้ ช่วยทำให้รักษา ด้วยรังสีแม่นยำ ตรงเป้าหมายที่แท้จริง รังสีแกมม่า ที่มีขนาดความเข้มสูง ก็จะสามารถ ทำลายพยาธิสภาพ ส่วนที่ต้องการรักษาได้ในขนาดต่างๆ ได้ และเนื้อเยื่อรอบๆ ของพยาธิสภาพ ส่วนที่ต้องการรักษา จะได้รับปริมาณรังสีน้อย และไม่เป็นอันตราย และไม่มีผลกระทบกระเทือน ต่อสมองส่วนอื่นๆ เครื่อง Gamma Knife มีชิ้นส่วน ที่เคลื่อนที่น้อยชิ้นมาก จึงทำให้ความแม่นยำสูง ปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ ในการรักษา ดีเยี่ยม ทั้งยังสามารถ ปิดกั้นลำแสงของรังสี ส่วนที่จะไปทำ ให้เกิดอันตราย กับประสาทสมอง ที่สำคัญๆได้ เช่น ประสาทตา เป็นต้น เส้นผ่าศูนย์กลาง ของรูเปิดหมวกเกราะ จะมีขนาดต่างๆ กัน ให้เลือกใช้ ขึ้นอยู่กับขนาด และรูปร่างของเนื้อเยื่อ ที่จะรักษา โดยปริมาณรังสีที่ออกมา จะมีปริมาณต่ำในขณะที่ลำแสง ที่ยิงออกมาจำนวนทั้ง 201 ลำแสง ซึ่งเป็นจำนวนสูงสุด จะถูกยิง และพุ่งไปรวมกันที่จุดๆ เดียวตรงบริเวณเนื้อเยื่อ ที่ทำการรักษา แล้วปริมาณรังสีที่ออกมานั้น จะลดลงทันที ทำให้การรักษาเป็นไปด้วยดี ไม่ทำลายเนื้อเยื่อที่ดีรอบข้าง ก่อนการดำเนินการรักษา ด้วยแกมม่าไนฟ์ จะมีการคำนวณ ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ และกำหนดการวางแผน พร้อมทั้งกำหนดความเข้ม ของรังสีให้พอเหมาะ กับขนาดพยาธิสภาพ ณ จุดที่จะทำการรักษานั้นๆ
โดยสรุปการรักษาด้วยเครื่องแกมม่าไนฟ์์
เป็นวิธีการที่คุ้มค่าไม่น่ากลัว เมื่อเปรียบเทียบกับการผ่าตัดรักษาด้วยการเปิดกระโหลกศีรษะ การรักษาด้วยเครื่องแกมม่าไนฟ์ จะอันตรายน้อยกว่าหรือแทบจะไม่อันตรายเลย การพักฟื้นใช้เวลา 1-2 วัน ผลแทรกซ้อนและความเสี่ยงต่อการทุพพลภาพแทบจะไม่มี ทั้งนี้ผู้ป่วยยังสามารถประหยัดเวลา และค่าใช้จ่ายในการหยุดงานหรือพักฟื้นในโรงพยาบาล
ที่มา: www.bangkokhospital.com
โรคหลอดเลือดหัวใจตีบเป็นโรคที่พบบ่อย และเป็นมัจจุราชเงียบที่คร่าชีวิตประชากรโลกในแต่ละปีเป็นอันดับต้นๆ
โรคนี้เกิดจากการที่หลอดเลือดโคโรนารีซึ่งส่งเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจเกิดการตีบแคบหรือถูกอุดกั้น ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และออกซิเจน เมื่อผู้ป่วยเกิดสภาวะหลอดเลือดอุดตันก็จะมีอาการเจ็บหน้าอก เหนื่อยง่ายเวลาออกกำลังกาย และหากหลอดเลือดโคโรนารีเกิดการอุดตันอย่างสมบูรณ์ ก็อาจทำให้เกิดอาการหัวใจวายเฉียบพลัน (Acute heart attack) และเสียชีวิตได้ในที่สุด ดังนั้น ยิ่งตรวจเจอโรคนี้เร็วเท่าไหร่ ก็จะยิ่งช่วยรักษาชีวิตให้ยืนยาวได้มากขึ้นเท่านั้น
ด้วยวิวัฒนาการทางการแพทย์ที่เจริญก้าวหน้า เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (Computed Tomography) จึงได้รับการพัฒนาอย่างมากจนเป็น Multi slice CT scan (MSCT) ซึ่งถูกนำมาใช้ในการวินิจฉัยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โดยนวัตกรรมล่าสุด คือ เครื่อง 256-slice multi-detector CT scan ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น และด้วยความพร้อมด้านการแพทย์ระดับแนวหน้าผสานกับประสบการณ์การรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือดมากที่สุดแห่งหนึ่งในภูมิภาค วันนี้โรงพยาบาลหัวใจกรุงเทพ พร้อมแล้วที่จะก้าวไปสู่การตรวจรักษาโรคหัวใจแห่งศตวรรษที่ 21 ด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ความเร็วสูงสุด 256-slice multi-detector CT scan เครื่องแรกในประเทศไทย
256-slice multi-detector CT scan ได้รับการพัฒนาจากเครื่อง 64-slice CT scan ที่ถูกนำมาใช้ในการวินิจฉัยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตั้งแต่ปี 2547 แม้ว่าเครื่อง 64- slice CT scan จะสามารถใช้อย่างได้ผลและสะดวกขึ้นเมื่อเทียบกับการตรวจสวนหัวใจ ทั้งยังสามารถบอกปริมาณคราบหินปูนที่จับเกาะอยู่ในผนังหลอดเลือดโคโรนารี ซึ่งสามารถนำไปใช้เป็นตัวพยากรณ์ความเสี่ยงในการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบใน อนาคตร่วมกับปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ได้ แต่เครื่อง 64-slice CT scan ก็ยังมีข้อจำกัดในการตรวจหาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบในผู้ป่วยที่มีอัตราการเต้น ของหัวใจเร็วกว่า 70 ครั้งต่อนาที หรือหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดอื่นๆ
ดีอย่างไร
256-slice multi-detector CT scan สามารถใช้ตรวจหาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบได้ในผู้ป่วยที่มีอัตราการเต้นของหัวใจเร็วกว่า 70 ครั้งต่อนาที เครื่องนี้ยังมีข้อดีกว่าคือให้ภาพผลการตรวจที่คมชัดกว่า ครอบคลุมอาณาบริเวณของอวัยวะที่ต้องการตรวจมากกว่า มีความแม่นยำสูง เวลาที่ใช้ในการตรวจน้อยกว่า อีกทั้งการหมุนของเครื่องสแกนต่อรอบกินเวลาเพียง 0.27 วินาที ทำให้ผู้ป่วยได้รับรังสีเอกซเรย์ในการรับการตรวจวินิจฉัยโรคน้อยลงถึง 80%
256-slice multi-detector CT scan จะแสดงภาพอวัยวะที่มีการเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา เช่น หัวใจ ให้ภาพที่มีความละเอียดสูงจนสามารถใช้ตรวจดูภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบ นอกจากนี้ ยังสามารถตรวจปริมาณการสะสมของหินปูนในผนังหลอดเลือด และความผิดปกติของหลอดเลือดได้ในคราวเดียวกัน ทั้งยังให้ผลเบื้องต้นที่รวดเร็วกว่า เนื่องจากใช้เวลาในการตรวจน้อยกว่า และข้อมูลจากการตรวจจะได้รับการแปลผลโดยรังสีแพทย์และอายุรแพทย์โรคหัวใจ ทำให้ทราบผลได้เร็ว (ภายในเวลาเพียง 1-2 ชั่วโมงกรณีเร่งด่วน)
เหมาะกับใครบ้าง
การตรวจหลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่อง 256-slice multi-detector CT scan จึงนับเป็นวิธีตรวจวินิจฉัยที่เป็นทางเลือกหนึ่งสำหรับผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงเล็กน้อยถึงปานกลาง และมีอาการของโรคหลอดเลือดหัวใจตีบไม่ชัดเจน เพราะวิธีนี้ทำได้รวดเร็วและมีความแม่นยำสูง โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีปริมาณคราบหินปูนเกาะอยู่บริเวณผนังของหลอดเลือดโคโรนารีไม่มากนัก
กลุ่มผู้มีความเสี่ยงสูงที่จะเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ ไม่ว่าจะเป็นชายอายุ 40 ปีขึ้นไป หญิงอายุ 55 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะของการเป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง สูบบุหรี่ เครียด ขาดการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ หรือมีประวัติสมาชิกในครอบครัวเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ ว่าควรระมัดระวัง และตรวจสุขภาพอย่างสม่ำเสมอ เพราะโรคนี้อันตรายถึงชีวิต
การปฏิบัติตัวเพื่อรับการตรวจ
- งดอาหารอย่างน้อย 4 ชั่วโมง ก่อนการตรวจหลอดเลือดหัวใจ (coronary angiogram) ในการตรวจหาปริมาณหินปูนที่เกาะตามผนังหลอดเลือด (calcium scoring)ไม่ต้องงดอาหารก่อนตรวจ
- หากมียาที่รับประทานประจำ ให้รับประทานยาได้ตามปกติจนถึงเช้าวันตรวจ
- ควรดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อย 2 ลิตรต่อวัน หลังการตรวจ
การปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิต
การปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิต (Hematopoietic stem cell transplantation) เป็นวิทยาการความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ ที่สามารถรักษาผู้ป่วยที่เป็นโรคร้ายแรงหลายชนิดให้มีโอกาสหายขาดได้ โดยความสำเร็จขึ้นอยู่กับสภาพร่างกาย และจิตใจของผู้ป่วย การมีผู้บริจาค stem cell ที่เหมาะสม ประสบการณ์ความพร้อม ความเชี่ยวชาญของแพทย์ และพยาบาลผู้ดูแลรักษา และที่สำคัญคือกำลังใจจากบิดามารดา ผู้ปกครอง และญาติพี่น้องของผู้ป่วย หรือจากบุคคลใกล้ชิด
เซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิต (Hematopoietic stem cells) คืออะไร ?
คือ เซลล์ตัวอ่อน หรือเซลล์ต้นกำเนิด (parent cells) ที่อยู่ในไขกระดูก ซึ่งสามารถเจริญเติบโต และแบ่งตัวพัฒนาไปเป็นเซลล์เม็ดเลือดชนิดต่างๆ คือ
- เม็ดเลือดแดง มีหน้าที่นำออกซิเจนไปเลี้ยงเซลล์เนื้อเยื่อต่างๆ ในร่างกาย
- เม็ดเลือดขาว มีหน้าที่ต่อต้าน และทำลายเชื้อโรคต่างๆ ที่รุกรานร่างกาย
- เกร็ดเลือด มีหน้าที่ห้ามเลือดจากบาดแผล ช่วยให้เลือดหยุดไหล
คือ การเปลี่ยนหรือแทนที่ stem cell ที่ผิดปรกติด้วย stem cell ที่ปรกติ Stem cell ที่ปรกตินั้นได้มาจากผู้บริจาค และนำมาให้แก่ผู้ป่วย (ผู้รับ) หลังจากที่ผู้ป่วยได้รับยาเคมีบำบัดหรือรังสีรักษาขนาดสูง ที่เรียกว่า "การเตรียมสภาพผู้ป่วย" (Conditioning) ซึ่งใช้เวลานาน 5-9 วัน แล้วแต่โรค และสภาพของผู้ป่วย
ในผู้ป่วยโรคมะเร็ง เหตุผลที่ผู้ป่วยต้องได้รับการเตรียมสภาพก็เพื่อทำลายเซลล์มะเร็งที่ยังเหลือซ่อนเร้นในร่างกาย ในเด็กที่ป่วยด้วยโรคทางพันธุกรรม การเตรียมสภาพเพื่อทำให้เกิดที่ว่างในไขกระดูกผู้ป่วย เพื่อให้ stem cell จากผู้บริจาคมีที่ที่จะเจริญเติบโต และเพื่อกดภูมิคุ้มกันของผู้ป่วยไม่ให้ต่อต้าน stem cell ของผู้บริจาค ต่อจากระยะการเตรียมสภาพ จะเป็นระยะเวลาของการปลูกถ่าย โดยการให้ stem cell เข้าไปในตัวผู้ป่วยผ่านทางสายสวนเส้นเลือดดำใหญ่ ด้วยวิธีการคล้ายคลึงกับการให้เลือด (blood transfusion) ไม่จำเป็นต้องฉีดโดยตรงเข้าไปในไขกระดูกผู้ป่วย Stem cell นั้นจะไหลเวียนในกระแสเลือดผู้ป่วย และเข้าไปอยู่ในไขกระดูกได้เอง จากนั้นจะเริ่มเจริญเติบโตต่อไป
ใครควรได้รับการปลูกถ่าย stem cell ?
- ผู้ป่วยที่เป็นโรคของไขกระดูกหรือความบกพร่องหรือผิดปรกติของเซลล์ในไขกระดูก เช่น โรคไขกระดูกฝ่อชนิดรุนแรง โรคโลหิตจางเบต้าธาลัสซีเมีย โรคภูมิคุ้มกันบกพร่องแต่กำเนิด
- ผู้ป่วยที่เป็นโรคมะเร็งบางชนิด ที่มีความเสี่ยงสูง เช่น มะเร็งเม็ดเลือดขาว มะเร็งต่อมน้ำเหลือง มะเร็ง
ต่อมหมวกไต มะเร็งเนื้อเยื่อ - ผู้ป่วยเด็กที่เป็นโรคทางพันธุกรรมหรือมีความผิดปรกติทางเมตาบอลิคบางชนิด
แหล่งของเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตหาได้จากไหน ?
- ไขกระดูก โดยการเจาะดูดไขกระดูกที่บริเวณกระดูกเชิงกราน (กระดูกสะโพก) ด้านหลัง ผู้บริจาคจำเป็นต้องได้รับการวางยาสลบขณะที่ทำการดูดไขกระดูก หลังการบริจาค เซลล์ในไขกระดูกจะแบ่งตัวเพิ่มจำนวนขึ้นมาทดแทนได้เอง ไม่มีการสูญเสียอวัยวะ หรือสมรรถภาพใดๆ ทั้งสิ้น
- กระแสเลือด โดยฉีดยากระตุ้น G-CSF ให้เซลล์ในไขกระดูกแบ่งตัวเพิ่มจำนวน แล้วออกมาไหลเวียนในกระแสเลือด จากนั้นนำเลือดของผู้บริจาคผ่านเครื่องมือคัดแยก stem cell เก็บไว้ แล้วคืนเลือด และพลาสมากลับสู่ร่างกายผู้บริจาค เป็นวิธีที่ผู้บริจาคจะรู้ตัวดีตลอด ไม่ต้องวางยาสลบ ลักษณะการบริจาคคล้ายคลึงกับการบริจาคโลหิต
- เลือดจากสายสะดือ และรกของเด็กทารกแรกเกิด ซึ่งวงการแพทย์ค้นพบว่าอุดมไปด้วยเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิต เป็นการนำสิ่งที่เคยถูกละทิ้งไปในอดีตมาทำให้เกิดประโยชน์ในการรักษาผู้ป่วย วิธีการทำโดยการเก็บทันทีหลังจากทารกเพิ่งคลอด และผูกตัดสายสะดือแล้ว ด้วยวิธีปราศจากเชื้อโรค และป้องกันไม่ให้เลือดแข็งตัวเป็นลิ่มเลือด จากนั้นทำการเตรียม และเก็บสงวน cord blood ไว้ในสภาพแช่แข็งในถังไนโตรเจนเหลวที่อุณหภูมิเย็นจัด
ผู้บริจาค stem cell ควรเป็นผู้ที่มีหมู่เนื้อเยื่อ HLA 6 หมู่หลักตรงกันหรือเข้ากันได้กับผู้ป่วยจึงจะมีโอกาสปลูกถ่ายติดสำเร็จสูง และเกิดภาวะแทรกซ้อน Graft-versus-Host disease (GvHD) น้อยหรือไม่เกิดเลย หมู่ HLA หรือ Human Leukocyte Antigen หลักดังกล่าวประกอบด้วย HLA-A, -B, -DR อย่างละ 2 ตำแหน่ง
ผู้บริจาคส่วนใหญ่ที่หาได้มักจะเป็นพี่หรือน้องร่วมบิดามารดาเดียวกันกับผู้ป่วย เนื่องจากโอกาสที่พี่น้องจะมี HLA ตรงกันทุกประการเท่ากับร้อยละ 25 หรือ 1 ใน 4 ส่วนตัวบิดามารดาเองจะมี HLA ตรงกับผู้ป่วยเพียงครึ่งเดียวเท่านั้น
ถ้าผู้ป่วยเป็นบุตรคนเดียว หรือไม่มีพี่น้องที่มี HLA ตรงกัน แพทย์สามารถสรรหาผู้บริจาคที่เป็นอาสาสมัคร (Unrelated, volunteer donor) ได้จากศูนย์กลางการขึ้นทะเบียนอาสาสมัครบริจาค stem cell คนไทยที่เรียกว่า National Stem Cell Donor Registry ของศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย นอกจากนี้ ศูนย์ฯ ยังเป็นสื่อกลางในการติดต่อแสวงหาผู้บริจาคจากต่างประเทศด้วย
กระบวนการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตโดยสังเขป
หลังจากผู้ป่วยได้รับการเตรียมสภาพ และได้รับการปลูกถ่าย ต้องใช้เวลานาน 2-3 สัปดาห์กว่าที่ stem cell ใหม่จะเริ่มปลูกติด ผู้ป่วยต้องพักรักษาตัวในโรงพยาบาล ในห้องเดี่ยวปลอดเชื้อที่ติดตั้งเครื่องกรองเชื้อโรค ฝุ่นละออง และเป็นแรงดันบวก ผู้ป่วยได้รับการเฝ้าระวังป้องกันรักษาภาวะแทรกซ้อน ต้องได้รับยาป้องกันการติดเชื้อ ต้องได้รับเลือด และเกร็ดเลือดที่ผ่านการเตรียมอย่างพิเศษ ได้รับยาช่วยกระตุ้นการปลูกถ่ายติด และยากดภูมิต้านทานเพื่อป้องกันภาวะ GvHD ผู้ป่วยบางรายต้องได้รับสารอาหารทางหลอดเลือด ผู้ป่วยมักต้องพักอยู่ในโรงพยาบาลนานประมาณ 6-8 สัปดาห์จึงจะฟื้นตัวแข็งแรงพอที่จะสามารถกลับบ้านได้
เครื่องช่วยในการผ่าตัดด้วยระบบคอมพิวเตอร์สร้างภาพแบบสามมิติ (O-Arm)
O-Arm คือ เครื่องช่วยในการผ่าตัดด้วยระบบคอมพิวเตอร์สร้างภาพแบบสามมิติ ที่เรียกว่า เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ “โออาร์ม” (O-Arm) ทำงาน ร่วมกับเครื่องมือผ่าตัดนำวิถี (Navigation system) มีชื่อเรียกว่า “สเต็ลท์” (Stealth) มาช่วยผ่าตัดได้แม่นยำและ ปลอดภัยมากขึ้น ซึ่งถือเป็นเครื่องแรกในประเทศไทย
ข้อดีของเครื่องโออาร์ม คือ เป็นเครื่องที่สามารถเข็นไปในห้องผ่าตัดคร่อมตัวคนไข้เพื่อถ่ายภาพในท่านอนท่าไหนก็ได้ นอกจากนี้ยังสามารถถ่ายรูปได้หลายรูป และหลายมุม ทั้งด้านบน ด้านล่าง และด้านข้าง รวมทั้งสามารถถ่ายรูปได้ 600 รูป ภายในเวลา 10 วินาที ทำให้ได้รูปมากและมีข้อมูลดี ซึ่งเราสามารถนำภาพนี้มาแสดงเป็นภาพสามมิติ ถือเป็นการช่วยในการผ่าตัดได้แม่นยำยิ่งขึ้น
นอกจากนี้เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ฯ ยังสามารถสร้างภาพแบบสามมิติบันทึกภาพในขณะผ่าตัดกระดูกสันหลังจริงขณะที่ผู้ป่วยนอนอยู่บนเตียง ผ่าตัด ซึ่งเป็นภาพที่ชัดเจน และแสดงตำแหน่งของกระดูกสันหลังอย่างละเอียดและแปลงภาพออกมาในรูปแบบแอนิเมชั่นสามมิติ โดยขณะแพทย์เคลื่อนไหวเครื่องมือขณะผ่าตัดจะมองเห็นการทำงานในขั้นตอนที่สำคัญ เช่น การใส่โลหะในกระดูกสันหลัง และที่สำคัญยังทำให้แพทย์กำหนดตำแหน่งที่ปลอดภัยในการวางเครื่องมือต่างๆ ได้ด้วยความแม่นยำสูงแม้ว่ากระดูกสันหลังจะผิดรูปก็ตาม
โดยเครื่องสร้างภาพแบบสามมิตินี้จะใช้ร่วมกับระบบนำวิถีสเต็ลท์ เพื่อนำข้อมูลจากภาพสามมิติที่ได้มา ช่วยศัลยแพทย์ในการประเมินระยะที่สามารถเข้าถึงบริเวณที่ต้องการผ่าตัดได้แม่นยำ และรวดเร็ว โดยไม่ต้องเปิดแผลใหญ่ และยังเป็นผลดี ต่อบุคลากรทางการแพทย์ และผู้ป่วย เนื่องจากได้รับรังสีน้อย
เครื่องมือนี้จะช่วยให้แพทย์กำหนดจุดต่างๆ ในกระดูกสันหลังได้มากถึงระดับเศษส่วนของมิลลิเมตร ทำให้สามารถวางโลหะช่วยเชื่อมกระดูกได้แม่นยำ นอกจากนี้ เครื่อง มือทั้ง 2 ยังสามารถใช้งาน ร่วมกับกล้องจุลทรรศน์ ที่ใช้ในการผ่าตัดจุดศัลยกรรมในสมอง ทำให้ศัลยแพทย์สามารถกำหนดตำแหน่งเนื้องอกในสมองหรือจุดต่างๆ ในสมองได้และใช้เวลาไม่มาก ซึ่งใน อนาคตจะมีการศึกษาเพื่อนำไปใช้ในการผ่าตัดสมองด้วย
ศัลยกรรมย้ายเซลล์รากผม
เป็นวิธีรักษาที่ได้ผลดี และมีความปลอดภัยสูง เพราะจะใช้แค่เพียงยาชาเฉพาะที่ใช้กันอยู่ทั่วไปเท่านั้น และเป็นวิธีที่แพทย์ปลูกผมทั้งหลายทั่วโลกใช้กันอยู่ในปัจจุบัน
หลักการสำคัญสำหรับการปลูกผมโดยการย้ายเซลล์ก็คือ แพทย์จะย้ายเซลล์ผมตรงบริเวณท้ายทอย หรือเซลล์ผมตรงบริเวณขมับเหนือกกหูทั้งสองข้างมาปลูกยังบริเวณศีรษะล้าน ทดแทนเส้นผมเดิมที่สูญเสียไป
เซลล์เส้นผมตรงบริเวณท้ายทอย และขมับเหนือกกหูนี้มีลักษณะพิเศษต่างจากเซลล์เส้นผมบริเวณอื่นคือเซลล์บริเวณนี้จะไม่
ตอบสนองต่อฮอร์โมนเพศชายจึงไม่เสื่อม หรือตายไปเช่นเซลล์เส้นผมบริเวณอื่น ผมที่ปลูกจึงอยู่กับเราไปตลอดชีวิต ตราบใดที่ผมตรงบริเวณ
ท้ายทอยหรือผมตรงบริเวณขมับนี้ยังอยู่ ผมที่ปลูกก็จะยังอยู่เช่นเดียวกัน เพราะมาจากที่เดียวกัน เพราะฉะนั้นเมื่อเราย้ายเซลล์รากผมไปปลูก
ยังบริเวณศีรษะล้าน เซลล์รากผมนั้นก็จะสร้างเส้นผมขึ้นมาใหม่และอยู่อย่างถาวร
ข้อดี
- เส้นผมที่ขึ้นใหม่เป็นเส้นผมจริงซึ่งงอกออกจากหนังศีรษะเช่นผมปกติจึงดูเป็นธรรมชาติ
- ผมที่ปลูกจะอยู่อย่างถาวรไปจนตลอดชีวิตเมื่อร่วงไปแล้วก็กลับขึ้นใหม่อีก
- ดูแลผมเหมือนปกติ สามารถสระผมได้เอง ตัดผม ย้อมผม ฯลฯ ได้ตามร้านตัดผมทั่วไป
- เล่นกีฬา ออกกำลังกายได้ทุกชนิดตามปกติ
- ผมที่ปลูกจะค่อยๆ ขึ้นอย่างช้าๆ จนยากที่คนรอบข้างจะสังเกตได้
- แพทย์จะออกแบบแนวผมด้านหน้าเพื่อให้รับกับใบหน้าผู้ป่วยแต่ละคน การออกแบบแนวผมนี้ควรคำนึงถึงปัจจัยหลายๆ ด้าน เช่น อายุผู้ป่วย ความต้องการของผู้ป่วย โหงวเฮ้ง เพื่อให้ดูเป็นธรรมชาติ
- กำหนดขอบเขต และวัดขนาดพื้นที่ของบริเวณที่ต้องการปลูก เพื่อใช้คำนวณหาจำนวนกอผมที่จะต้องนำมาปลูกให้เต็มที่นั้นๆ ให้ได้ความหนาแน่นที่ต้องการ
- เลือกเซลล์เส้นผมตรงบริเวณท้ายทอยที่ต้องการนำมาปลูก เล็มผมตรงบริเวณนี้ให้สั้นประมาณ 1-2 มม. และกำหนดขอบเขตที่ต้องการไปปลูก
- ให้ยาชา และตัดผิวหนังที่มีเซลล์เส้นผมที่ออกจากหนังศีรษะจากบริเวณที่กำหนดไว้ในข้อ 3 แล้วเย็บปิดแผล ผมทางด้านหลังจะปิดบังรอยแผล ทำให้ไม่สามารถสังเกตเห็นได้
- ชิ้นเนื้อที่ได้มานี้จะถูกนำไปแยกเซลล์ผมออกเป็นกอๆ หรือกราฟ (graft) โดยใช้กล้องจุลทรรศน์ (Microscope) โดยในแต่ละกอจะมีเซลล์ผมตั้งแต่ 1-4 เส้นตามธรรมชาติ
- ให้ยาชาตรงบริเวณที่ต้องการปลูกอีกครั้งหนึ่ง ใช้เข็มเจาะรูเพื่อฝังกอผมที่ได้เตรียมไว้ ขนาดของรูจะมีขนาดต่างๆ กันตามขนาดของกอผม
- นำกอผมที่แยกไว้มาฝังในรูที่เจาะไว้
- ตรวจดูความเรียบร้อยหลังฝังกอผมเสร็จก่อนที่จะให้ผู้ป่วยกลับบ้าน
- นัดผู้ป่วยมาสระผมในวันรุ่งขึ้นหลังทำ และสระผมทุกวัน วันละครั้งจนกระทั่งตัดไหม
- ตัดไหมแผลด้านหลัง 10-14 วันหลังปลูกผม (ยกเว้นใช้ไหมละลาย) แผลเป็นทางด้านหลังจะเล็กมากจนยากที่จะสังเกตเห็นได้
** ต้องดูที่หลายปัจจัยคือ ประสบการณ์ เทคนิคการทำ ทีมที่ทำ ผลงานที่ออกมา การฝึกอบรม และคุณวุฒิของแพทย์ ซึ่งสามารถขอข้อมูลของแพทย์จากสมาคมศัลยแพทย์ปลูกผม (ไม่ใช่ศัลยแพทย์พลาสติก)
เครื่องแกมม่าไนฟ์
โรงพยาบาลกรุงเทพ เป็นหน่วยงานที่มีระบบการบริหาร แยกเป็นอิสระจากศูนย์อื่น และเป็นศูนย์เปิด เพื่อให้แพทย์จากโรงพยาบาล ทั้งภาครัฐบาล และเอกชน สามารถมาใช้ศูนย์นี้ได้ โดยส่งผู้ป่วยมา และแพทย์ สามารถเข้ามาดูแลผู้ป่วยได้ หรือจะร่วมในการรักษา พร้อมแพทย์ประจำศูนย์ด้วยก็ได้ ศูนย์ศัลยกรรมแกมม่าสมองกรุงเทพ ได้เปิดขึ้นเป็นแห่งแรกใน Southeast Asia นับเป็นการช่วยให้ผู้ป่วย ที่เป็นโรคทางสมอง สามารถรักษาได้โดยไม่ต้องผ่าตัด เป็นการสร้างคุณภาพชีวิต ให้กลับคืนมาเหมือนเดิม หรือใกล้เคียงในระยะเวลาอันสั้น ทั้งยังช่วยให้ผู้ป่วย ไม่ต้องสูญเสียค่าใช้จ่าย มากเกินจำเป็น ในการเดินทางไปรักษาในต่างประเทศ
เครื่องแกมม่าไนฟ์ ประกอบด้วยรังสี จากต้นกำเนิดรังสีของ Cobalt - 60 จำนวน 201 ลำแสง ซึ่งพุ่งผ่านช่องทาง (Collimator) ของหมวกเกราะ (Helmet) ยิงตรงไปที่เป้าหมายในสมอง หมวกเกราะนี้ ช่วยทำให้รักษา ด้วยรังสีแม่นยำ ตรงเป้าหมายที่แท้จริง รังสีแกมม่า ที่มีขนาดความเข้มสูง ก็จะสามารถ ทำลายพยาธิสภาพ ส่วนที่ต้องการรักษาได้ในขนาดต่างๆ ได้ และเนื้อเยื่อรอบๆ ของพยาธิสภาพ ส่วนที่ต้องการรักษา จะได้รับปริมาณรังสีน้อย และไม่เป็นอันตราย และไม่มีผลกระทบกระเทือน ต่อสมองส่วนอื่นๆ เครื่อง Gamma Knife มีชิ้นส่วน ที่เคลื่อนที่น้อยชิ้นมาก จึงทำให้ความแม่นยำสูง ปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ ในการรักษา ดีเยี่ยม ทั้งยังสามารถ ปิดกั้นลำแสงของรังสี ส่วนที่จะไปทำ ให้เกิดอันตราย กับประสาทสมอง ที่สำคัญๆได้ เช่น ประสาทตา เป็นต้น เส้นผ่าศูนย์กลาง ของรูเปิดหมวกเกราะ จะมีขนาดต่างๆ กัน ให้เลือกใช้ ขึ้นอยู่กับขนาด และรูปร่างของเนื้อเยื่อ ที่จะรักษา โดยปริมาณรังสีที่ออกมา จะมีปริมาณต่ำในขณะที่ลำแสง ที่ยิงออกมาจำนวนทั้ง 201 ลำแสง ซึ่งเป็นจำนวนสูงสุด จะถูกยิง และพุ่งไปรวมกันที่จุดๆ เดียวตรงบริเวณเนื้อเยื่อ ที่ทำการรักษา แล้วปริมาณรังสีที่ออกมานั้น จะลดลงทันที ทำให้การรักษาเป็นไปด้วยดี ไม่ทำลายเนื้อเยื่อที่ดีรอบข้าง ก่อนการดำเนินการรักษา ด้วยแกมม่าไนฟ์ จะมีการคำนวณ ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ และกำหนดการวางแผน พร้อมทั้งกำหนดความเข้ม ของรังสีให้พอเหมาะ กับขนาดพยาธิสภาพ ณ จุดที่จะทำการรักษานั้นๆ
โดยสรุปการรักษาด้วยเครื่องแกมม่าไนฟ์์
เป็นวิธีการที่คุ้มค่าไม่น่ากลัว เมื่อเปรียบเทียบกับการผ่าตัดรักษาด้วยการเปิดกระโหลกศีรษะ การรักษาด้วยเครื่องแกมม่าไนฟ์ จะอันตรายน้อยกว่าหรือแทบจะไม่อันตรายเลย การพักฟื้นใช้เวลา 1-2 วัน ผลแทรกซ้อนและความเสี่ยงต่อการทุพพลภาพแทบจะไม่มี ทั้งนี้ผู้ป่วยยังสามารถประหยัดเวลา และค่าใช้จ่ายในการหยุดงานหรือพักฟื้นในโรงพยาบาล
เครื่องแกมม่าไนฟ์ใช้บำบัดหรือทำลายหยุดยั้งโรคทางสมองได้ 4 กลุ่ม คือ
- กลุ่มโรคเส้นเลือดในสมองผิดปกติ หรือเส้นเลือดขอดในสมอง
- กลุ่มโรคเนื้องอกในสมองส่วนต่างๆ ที่อยู่ลึกจนถึงก้านมองซึ่งผ่าตัดแบบทั่วไปได้ยาก
- กลุ่มโรคมะเร็งที่แพร่กระจายมาที่สมองจากส่วนต่างๆ ของร่างกาย และลุกลามมาที่สมอง
- กลุ่มอาการที่เกิดจากการทำงานที่ผิดปกติของสมอง เช่น อาการเจ็บปวดใบหน้า เนื่องจากเส้นประสาทสมองคู่ที่ 5 ทำงานผิดปกติ, โรคลมชัก (บางชนิด) เป็นต้น
ที่มา: www.bangkokhospital.com
เทคโนโลยีการขนส่ง
เทคโนโลยีการขนส่ง
- สาขาเทคโนโลยีการขนส่ง เป็นวิชาที่เกี่ยวข้องกับ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา ที่เน้นเฉพาะด้านการขนส่ง เนื้อหาวิชา จะเกี่ยวกับการออกแบบ วางแผน จัดการ การจราจร การขนส่งคน และสินค้าในรูปแบบต่างๆ ทั้งทางบก น้ำ และ อากาศ ทั้งนี้ จะเน้นไปในทางวิศวกรรม ซึ่งสามารถประยุกต์ใช้ ในการออกแบบ ควบคุมงานก่อสร้างถนน ทางรถไฟ สนามบิน หรือท่าเรือได้ นอกจากนี้ ยังมีความรู้ ความสามารถ ทางด้านวิศวกรรมโยธา เช่นงานโครงก่อสร้าง งานสำรวจ งานดิน หรือ ชลศาสตร์ เป็นต้น
- นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีขนส่ง จะเรียนรู้วิชาการในหมวดต่าง ๆ ดังนี้
- วิศวกรรมสำรวจ
- วิศวกรรมโครงสร้าง
- วิศวกรรมปฐพี
- วิศวกรรมชลศาสตร์
- วิศวกรรมการขนส่งและเทคโนโลยี
- นอกจากนี้ยังเพิ่มเติมการศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีและวิธีการในทางปฎิบัติของการบริหารโครงการก่อสร้างทั้งขนาดเล็กและใหญ่ ในกรณีที่เป็นเจ้าของโครงการก่อสร้าง วิศวกรที่ปรึกษาโครงการ และผู้รับเหมาก่อสร้าง ตลอดจนพื้นฐานการจัดรูปองค์การ การควบคุมบริหารการเงินในการก่อสร้าง กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานก่อสร้างและความปลอดภัยในการก่อสร้าง
- มีความสามารถอ่านแบบ เขียนแบบ ผลิตชิ้นส่วนใน โรงงานสำรวจคำนวณ ออกแบบ หาปริมาณงาน ออกแบบชิ้นส่วน ของอาคารคอนกรีต และเหล็ก
- มีความรู้การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่เกี่ยวข้อง เช่น autocad, spreedsheet, word processor
- ประสบการณ์การปฎิบัติงานพื้นฐาน ในโรงงานด้านการวัดคุม และควบคุมอุปกรณ์ต่าง ๆ
- มีความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ
- นักศึกษาสามารถทำงานภายใต้การกำกับของวิศวกรรมในเรื่อง
- งานสำรวจ
- ออกแบบทางโยธา
- งานบริษัทวิศวกรที่ปรึกษา
- งานบริษัทก่อสร้าง
- งานวิเคราะห์เชิงตัวเลขต่างๆ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)